โครงการสวนจิตรดา การเพาะพันธุ์พืช

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

พิธีมอบโล่และเกียรติบัตรการประกวดโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
นายชิดชัย อังคะ ไวมงคล หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ ผังเมือง นายมนัส ปรุง ทำนุ หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ ร. อ. ปกรณ์เดช โลหิตหาญ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ.
ราชบุรี นายประกอบ วงศ์มณีรุ่ง นายวรวุฒิ เจริญเชื้อ
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
สุพรรณบุรี นายวีรวุฒิ ประวัติ นายสมศักดิ์ วิริยะธนาวุฒิวงษ์
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดชัยภูมิ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ชลบุรี ว่าง นายชิดชัย อังคะไวมงคล
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ระยอง นายสมชัย ฉายศรีศิริ นายปรพล เจริญพงษ์ นายสมหมาย เอี่ยมมงคลสกุล
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
S m a r t O f f i c e สำนักงานเกษตรอำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร
และองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรีสาขาระดับอำเภอ 6 สาขา
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ธนาคารออมสิน.
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 3 ประจำเดือน มีนาคม 2558.
การพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยในไทย
การแต่งกายประดับ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย
พระเครื่องเมืองกำแพงเพชร
สถาบันด้านปัจจัยการ ผลิตทางการเษตร ( ตลาดแรงงาน ) ศ.491 การวิเคราะห์การผลิต และนโยบายการผลิตสินค้าเกษตร รศ. ภราดร ปรีดาศักดิ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
การบริหารจัดเก็บภาษีสินค้ายาสูบ
กลุ่มนโยบายและแผนงาน ฝ่ายแผนและพัฒนา
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
Design by Agri - Map สำนักงานชลประทานที่ ๘.
การตรวจสอบผลิตภัณฑ์อาหาร ณ ด่านอาหารและยา
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
ฝ่ายพิธี กองศาสนูปถัมภ์ กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เป้าหมายจังหวัด TO BE NUMBER ONE
การสัมมนาแนวทางการดำเนินงาน
EB9 หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงานอย่างไร (1) มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน.
กลุ่มเกษตรกร.
สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต Environment, Technology and Life
ระเบียบวาระที่ 4 : เรื่องเพื่อทราบ
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
การเตรียมการป้องกันและแก้ปัญหาภัยแล้ง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
จุดเริ่มต้นสวนสัตว์ไทย
ศาสนาเชน Jainism.
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
02/08/62 การศึกษาพลังงานทางเลือกจากมูลช้างทำถ่านอัดแท่ง สู่ชุมชนท้องถิ่นในเขตจังหวัดสุรินทร์ The Study of Alternative Fuel From Elephant Dung Made Bar.
“ทิศทางการขับเคลื่อน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน” ของสำนักงานคณะกรรมการ
อุปนายกสมาคมวิจัยและพัฒนาการศึกษา ดร.พรสันต์ เลิศวิทยาวิวัฒน์
งานสังคมครั้งที 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน โดย น.ส.อธิชา ฤทธิ์เจริญ ม.4 MEP-A เลขที่ 21.
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
ตอนที่ 4.3 กรณีศึกษา : การสร้างเสริมประสิทธิภาพ งานส่งเสริมการเกษตร สำนักงานอำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ ตอนที่ กรณีศึกษา : การจัดการความรู้
ชาวพุทธตัวอย่าง สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
กิจกรรมส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่
หลักการทรงงาน รัชกาลที่ 9.
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
“ครอบครัว สุขสันต์ ช่วยกันเก็บออม”
อำเภอแก่งคอย จัดทำโดย 1. เด็กชายวีระชัย บัวขำ เลขที่ 1
เครื่องขุดหลุมปลูกยาสูบ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการสวนจิตรดา การเพาะพันธุ์พืช

จัดทำโดย น.ส.รุ่งอรุณ โพนเวียง เลขที่ 19 น.ส.รุ่งอรุณ โพนเวียง เลขที่ 19 น.ส. อรอนงค์ เหลี่ยมมณี เลขที่ 27 น.ส. ทิพากร พลอยคีรี เลขที่ 35 น.ส. ลลิตา อุตสาหะ เลขที่ 36

อาจารย์ชนาธิป ปะทะดวง เสนอ อาจารย์ชนาธิป ปะทะดวง

การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช โครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดาได้เริ่มทำการศึกษาทดลอง เกี่ยวกับการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช ตั้งแต่ปีพุทธศักราช ๒๕๒๘ โดยทำการศึกษา และวิจัยร่วมกับภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจาก ศูนย์พันธุวิศวกรรม และเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดห้องปฏิบัติการเพาะเลี้ยง เนื้อเยื่อพืช ในวันที่ ๙ พฤษภาคม ปีพุทธศักราช ๒๕๒๘ พร้อมมีพระราชกระแสรับสั่งให้ อนุรักษ์ต้นขนุนบริเวณหลังพระที่นั่งไพศาลทักษิณ ในพระบรมมหาราชวัง จึงเริ่มมีการ อนุรักษ์พันธุ์พืชหายากที่มีลักษณะพิเศษ เช่น ขนุนไพศาลทักษิณ มณฑา ยี่หุบ พุดสวน และสมอไทย โดยการใช้เทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช นอกจากนี้ยังมีการอนุรักษ์พันธุ์ไม้ที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจ เช่น หวาย ซึ่งเป็นพื้นฐาน ในการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชในโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ซึ่งเริ่มจัดตั้งในปีพุทธศักราช ๒๕๓๕

พ.ศ. 2503 ทรงพยายามปกปักยางนา พ.ศ. 2503 ทรงพยายามปกปักยางนา พ.ศ. 2503 ทรงพยายามปกปักยางนา ในฤดูร้อนเกือบทุกปี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จแปรพระราชฐาน ไปประทับแรม ณ วังไกลกังวล หัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ในระยะแรกเสด็จ พระราชดำเนินโดยรถไฟ ต่อมาเสด็จฯ โดยรถยนต์ เมื่อเสด็จฯ ผ่านอำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี สองข้างทางมีต้นยางขนาดใหญ่ขึ้นอยู่มาก ทรงมีพระราชดำริที่จะ สงวนป่าต้นยางนี้ไว้เป็นสวนสาธารณะ ด้วยพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ แต่ไม่ สามารถจัดถวายได้ตามพระราชประสงค์ เพราะมีราษฎรเข้ามาทำไร่ทำสวนใน บริเวณนั้นมาก จะต้องจ่ายเงินทดแทนในการหาที่ใหม่ในอัตราที่ไม่สามารถจัดได้ พ.ศ. 2504 ป่าสาธิตทดลอง เมื่อไม่สามารถดำเนินการปกปักต้นยางนาที่อำเภอท่ายางได้ จึงทรง ทดลองปลูกต้นยางเอง โดยทรงเพาะเมล็ดยางที่เก็บจากต้นยางนาในเขตอำเภอ ท่ายาง ในกระถางบนพระตำหนักเปี่ยมสุข วังไกลกังวล หัวหิน และทรงปลูกต้น ยางนาเหล่านั้นในแปลงทดลองใกล้พระตำหนักเรือนต้น สวนจิตรลดา พร้อมข้าราช- บริพาร เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม 2504 จำนวน 1,250 ต้นแม้ต้นยางที่ท่ายางสูญสิ้น แต่พันธุกรรมของยางนาเหล่านั้นยังอนุรักษ์ ไว้ได้ที่สวนจิตรลดา ต่อมาทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้นำพรรณไม้จากภาคต่างๆ ทั่ว ประเทศ มาปลูกในบริเวณที่ประทับ สวนจิตรลดา เพื่อให้เป็นที่ศึกษาพรรณไม้ ของนิสิตนักศึกษาแทนที่จะต้องเดินทางไปทั่วประเทศ

พ.ศ. 2528 ทรงใช้เทคโนโลยีเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่ออนุรักษ์พืช พ.ศ. 2528 ทรงใช้เทคโนโลยีเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่ออนุรักษ์พืช พ.ศ. 2528 ทรงใช้เทคโนโลยีเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่ออนุรักษ์พืช ในวันพืชมงคล วันที่ 9 พฤษภาคม 2528 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พร้อมด้วยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราช ดำเนินไปทรงเปิดอาคารห้องปฏิบัติการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชที่โครงการส่วน พระองค์ฯ สวนจิตรลดา และทรงมีพระราชกระแสให้อนุรักษ์ต้นขนุนหลังพระตำหนัก ไพศาลทักษิณ ในพระบรมมหาราชวัง ความสำเร็จของการใช้วิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชขยายพันธุ์ขนุนไพศาล ทักษิณ นำไปสู่การขยายพันธุ์ต้นไม้ที่มีลักษณะพิเศษ ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของ พระราชวังต่างๆ แล้วอนุรักษ์พันธุ์ไม้อีกหลายชนิด ได้แก่พุดสวน มณฑา ยี่หุบ ที่อยู่ในพระบรมมหาราชวัง และสมอไทยในพระที่นั่งอัมพรสถานมงคล ในขณะเดียวกันก็ได้มีการพัฒนาเทคโนโลยีการเก็บรักษาพันธุกรรมของพืชเอกลักษณ์ใน สภาวะปลอดเชื้อในอุณหภูมิต่ำ เพื่อให้สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้ในอนาคต จนทำให้เก็บรักษาเนื้อเยื่อขนุนที่อุณหภูมิ –196 องศาเซลเซียส ในไนโตรเจนเหลว มีเนื้อเยื่อขนุนที่รอดชีวิตอยู่ได้ 23 เปอร์เซ็นต์ พ.ศ. 2529 ทรงให้อนุรักษ์พันธุกรรมหวาย ทรงมีพระราชดำริให้อนุรักษ์และขยายพันธุ์หวายชนิดต่างๆ โดยการ เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ เพื่อเตรียมการแก้ปัญหาการขาดแคลนหวายในอนาคต หวายที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจและเป็นเป้าหมาย คือหวายข้อดำ หวายน้ำผึ้ง หวายตะค้าทอง หวายหอม หวายแดง หวายโป่ง หวายกำพวน หวายงวย และหวายขี้เสี้ยน เมื่อขยายพันธุ์ได้ต้นที่สมบูรณ์ของหวายข้อดำและหวาย ตะค้าทองแล้ว ก็ได้พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ทำการทดลองปลูกต้นหวาย เหล่านั้นในป่ายางนาใกล้พระตำหนักเรือนต้น สวนจิตรลดา และมีพระราชดำริให้ ทดลองปลูกที่ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ จังหวัดเชียงใหม่ และศูนย์ศึกษา การพัฒนาภูพานฯ จังหวัดสกลนครอีกด้วย

พ.ศ. 2529 สวนพืชสมุนไพร การดำเนินการเกี่ยวกับหวายได้มีการขยายผลไปสู่ความร่วมมือระหว่างโครงการ ส่วนพระองค์ฯ สวนจิตรลดา สำนักพระราชวัง กับส่วนราชการจังหวัดตรัง จัดทำแปลงขยายพันธุ์หวายขึ้นในพื้นที่ 1,000 ไร่ ที่ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง เมื่อปี พ.ศ. 2532 และได้น้อมเกล้าฯ ถวายเป็นสวนเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ซึ่งนอกจากจะเป็นสถานที่อนุรักษ์พันธุ์หวายชนิด ต่างๆ ของประเทศไทยแล้วยังได้ใช้เป็นสถานศึกษาวิจัยและขยายพันธุ์หวาย เศรษฐกิจเพื่อให้ผลประโยชน์ถึงประชาชนอย่างกว้างขวางด้วย พ.ศ. 2529 สวนพืชสมุนไพร ในปี พ.ศ. 2529 นอกจากมีพระราชดำริให้มีการอนุรักษ์พันธุ์หวายแล้ว ยังได้จัดทำสวนพืชสมุนไพรขึ้นใน โครงการส่วนพระองค์ฯ สวนจิตรลดา เพื่อรวบรวม พืชสมุนไพรมาปลูกเป็นแปลงสาธิต และรวบรวมข้อมูลสรรพคุณ ตลอดจนการนำไป ใช้ประโยชน์กับทั้งให้มีการศึกษาการขยายพันธุ์พืชสมุนไพร โดยการเพาะเลี้ยง เนื้อเยื่อ และเผยแพร่ความรู้ที่ได้สู่ประชาชน

การเพาะเลี้ยงและแปรรูปสาหร่ายเกลียวทอง ในปีพุทธศักราช ๒๕๒๙ งานวิจัยและพัฒนา โครงการ- ส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา ได้ทำการศึกษาความเป็น ไปได้ในการนำน้ำกากมูลหมัก ซึ่งเป็นผลพลอยได้จาก การผลิตก๊าซชีวภาพ มาทดลองเพาะเลี้ยงสาหร่าย- เกลียวทอง เพื่อนำมาใช้เป็นส่วนผสมในการผลิตอาหาร สำหรับเลี้ยงปลา ต่อมาจากผลงานวิจัยต่าง ๆ ที่ยืนยันว่า สาหร่ายเกลียวทองมีโปรตีนสูง รวมถึงสารอาหารที่มี ีประโยชน์ต่อร่างกาย จึงมีการพัฒนาปรับปรุงสูตรอาหาร เพื่อเพาะเลี้ยงสาหร่ายเกลียวทองในน้ำสะอาด และนำ มาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์อาหารสำหรับบริโภค ตั้งแต่ปี พุทธศักราช ๒๕๓๒

การเพาะเลี้ยงและแปรรูปสาหร่ายเกลียวทอง การเพาะเลี้ยงสาหร่ายเกลียวทอง จะเริ่มจากการนำเซลล์สาหร่ายที่แข็งแรงจาก ห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์มาเพาะเลี้ยงในบ่ออนุบาล จากนั้นจะย้ายมาเพาะ เลี้ยงในบ่อซีเมนต์กลางแจ้ง ที่เติมน้ำสะอาด และสารอาหาร โดยมีการควบคุม ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของสาหร่าย เช่น แสงสว่าง การหมุนเวียนของน้ำ และการปนเปื้อนจากสารปนเปื้อน รวมทั้งสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น การเก็บเกี่ยว จะสามารถทำได้ภายในระยะเวลาประมาณ ๑๐ - ๑๕ วัน ถ้ามี ปริมาณแสงแดดที่พอเหมาะ โดยจะทำการสูบน้ำที่มีสาหร่ายเกลียวทองจากบ่อ ซีเมนต์ไปผ่านการกรองด้วยผ้าแพรลงก็ตอนเนต (plankton net) ที่มีความถี่ของ ตาข่ายสูงมาก ล้างสาหร่ายที่กรองได้ แล้วนำไปอบ และบด ให้เป็นผงละเอียด จากนั้นจึงนำสาหร่ายเกลียวทองที่เป็นผงมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ เช่น สาหร่าย เกลียวทองผงบรรจุแคปซูล และข้าวเกรียบรสสาหร่ายเกลียวทอง

ภาพกิจกรรม

ขอจบการนำเสนอเพียงเท่านี้ค่ะ ขอบคุณค่ะ