หลักการ และแผนงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด ปีงบประมาณ 2551 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 20 กรกฎาคม 2550.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
Advertisements

การปฏิบัติราชการของจังหวัด
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
วิสัยทัศน์ มุ่งสู่สังคมคุณภาพบนพื้นฐานความรับผิดชอบร่วมกัน
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ
แนวทางการบูรณาการ อพม.กับโครงการพัฒนาตำบลต้นแบบ
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
ข้อควรรู้เพิ่มเติม ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับพุทธศาสนา
ตำบลนมแม่ โมเดลการพัฒนาเด็กแบบองค์รวม
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ ยุทธศาสตร์จังหวัดกระบี่
แจ้งผลการพิจารณาให้ มท./ สศช. / สงป. - พิจารณาอนุมัติโครงการ
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
โครงการพัฒนาปศุสัตว์อินทรีย์ ปี 2555
ระบบรับรองมาตรฐาน แผนชุมชน
รูปแบบแผนชุมชน.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
วิสัยทัศน์ Vision สหกรณ์ที่มีความมั่นคงทาง เศรษฐกิจ สังคม รักษ์สิ่งแวดล้อม นำพาคนสหกรณ์มีความสุข.
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
ตัวอย่าง ตารางกรอบแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุ่มน้ำ แบบบูรณาการ
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
สรุปการประชุม เขต 10.
ความก้าวหน้าการจัดทำแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
วัตถุประสงค์ และผลผลิตหลักโครงการ
การดำเนินงานหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแบบบูรณาการ สู่
“โครงการสร้างสุขระดับจังหวัด….” จากแผนงานสร้างเสริมสุขภาพจิต(สสส.)
ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
SPATIAL PLANING : SGA-PEI รศ. ดร
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
ระบบส่งเสริมการเกษตร
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
วิธีการพัฒนาสถานศึกษาพอเพียงเป็นศูนย์การเรียนรู้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา
การพัฒนาระบบวิจัยของประเทศ และการจัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์
การจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2554
แนวทางการเขียน แผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ ของสถานศึกษา
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
โดย นายแพทย์วุฒิไกร มุ่งหมาย นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
สรุปการประชุมระดมความคิด
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2550 – 2552) องค์การบริหารส่วนตำบลทางเกวียน
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การ พัฒนาชุมชน สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด พิษณุโลก
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการ IMT - GT ในภาพรวม และ Best Practice IMT – GT Plaza แห่งแรก โดย นายสุกิตติ ธนพิทักษ์ หัวหน้าสำนักงานจังหวัดสงขลา.
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
จุดประกายการพัฒนาศักยภาพโรงเรียนเด็กไทยแก้มสและบนบาทของทีมวิทยากรระดับเขต วันที่ 5 มกราคม 2557 โรงแรมเอเชีย แอร์พอร์ท โดย สง่า ดามาพงษ์
จังหวัดนราธิวาส โครงการบำบัดทุกข์ บำรุงสุข แบบ ABC
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
วาระแห่งชาติด้านการเกษตร (National Agenda)
แนวคิดและหลักการส่งเสริมการตรวจสุขภาพ รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
เกษตรอินทรีย์ชีวภาพบ้านตะโกสิงห์หมู่ 9 ตำบลอีสานเขต
ระดับกระทรวง / กลุ่มภารกิจ / กรม
ผลสัมฤทธิ์ของปราชญ์ : กรณีประเมินผล ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้าน
เศรษฐกิจพอเพียง นางสาวสุนิสา จันทร์ตะบูน ชั้น ปวช 1 เลขที่ 20 กลุ่ม 2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลักการ และแผนงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด ปีงบประมาณ 2551 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 20 กรกฎาคม 2550

กรอบการนำเสนอ 1. หลักการ และแผนงาน เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์และยกระดับ 2. แนวทางการจัดทำวิสัยทัศน์ของจังหวัด เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์และยกระดับ การพัฒนาชุมชนปี 2551

การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด ปี 2551 ความ หลาก หลาย ของ ชุมชน สนับสนุนกระบวนการ ให้ชุมชนพัฒนาตนเอง การกำหนดศักยภาพของชุมชน เศรษฐกิจ สังคม กระบวนการพัฒนา ทรัพยากรฯ สิ่งแวดล้อม แผนงานสร้างการเรียนรู้ การพัฒนาอาชีพและรายได้ การพัฒนาคุณภาพชีวิต หลักการสำคัญของยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด สนับสนุนกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนา ให้สามารถพึ่งตนเองในการสร้างอาชีพและรายได้ พัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชนและฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ที่คำนึงถึงความหลากหลายและความแตกต่างกันในแต่ละพื้นที่ และแต่ละภาคภายใต้เงื่อนไขที่ประชาชน และชุมชน ต้องเป็นผู้ดำเนินการด้วยตนเอง กระบวนการมีส่วนร่วม ต้องเริ่มจากชุมชนมาร่วมกันประเมินศักยภาพของชุมชน ทั้งในการสร้างรายได้และอาชีพ สถานภาพทางด้านสังคม และสภาพแวดล้อมทางด้านทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม เพื่อกำหนดตำแหน่งของชุมชน ร่วมกันวางแผนและกำหนดทิศทางของการพัฒนาที่จะทำให้ชุมชนพึ่งตนเองได้อย่างยั่งยืน เน้น 2 แนวทางหลักคือ การพัฒนาศักยภาพและโอกาสในการสร้างรายได้ และการยกระดับคุณภาพชีวิตและฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของชุมชน โดยรัฐสนับสนุนให้ชุมชนเป็นผู้คิดและกำหนดวิธีการในการพัฒนาตามแนวทางดังกล่าวด้วยตนเอง หลีกเลี่ยงงบประมาณที่ซ้ำซ้อนกับงบประมาณและภารกิจต่างๆ ที่ได้รับการสนับสนุนแล้ว เช่น งบ Function งบประมาณของอปท. และในระยะต่อไป จังหวัดจะสามารถตั้งงบประมาณได้เอง เพื่อหลีกเลี่ยงความซ้ำซ้อนทั้งในด้านประสิทธิภาพและการใช้งบประมาณ และภารกิจของหน่วยงาน การพัฒนาอาชีพฯ ชุมชนดูแลผู้ด้อยโอกาส ผลิตภัณฑ์ชุมชน ฟื้นฟูทรัพยากรฯ /สวล. แผนงาน/โครงการที่ขอสนับสนุน ไม่ซ้ำซ้อนกับแหล่งเงินและ ภารกิจของหน่วยงานอื่น ส่วนกลาง ภูมิภาค อปท.

แผนงาน 1 แผนงานสร้างการเรียนรู้ และความสามารถในการจัดการของชุมชน พัฒนาอาชีพตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2 3 พัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน/วิสาหกิจชุมชน 4 สนับสนุนชุมชนดูแลผู้ด้อยโอกาส เด็ก และผู้สูงอายุ แผนงานสร้างการเรียนรู้ และความสามารถในการจัดการของชุมชน เพื่อการพึ่งตนเองอย่างยั่งยืน สนับสนุนให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการคิด วิเคราะห์ และร่วมดำเนินการ ตลอดจนการจัดบริการความรู้ให้กับชุมชนตามที่ชุมชนร้องขอ เช่น การสนับสนุนวิทยากรกระบวนการ มีกระบวนการเรียนรู้ซึ่งกันและกัน เป็นต้น 2) แผนงานพัฒนาอาชีพตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (สัมมาชีพเต็มพื้นที่) โดยสนับสนุนกิจกรรมการประกอบอาชีพของคนในหมู่บ้าน/ชุมชนทั้งในและนอกภาคเกษตร ที่ชุมชนมีพื้นฐานและศักยภาพ เช่น การเกษตร การท่องเที่ยว การแปรรูป การค้าขาย เป็นต้น 3) แผนงานพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนและวิสาหกิจชุมชน เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจของชุมชนและท้องถิ่น การพัฒนาผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น/ชุมชนที่มีศักยภาพ มีความโดดเด่น และมีลู่ทางด้านการตลาด 4) แผนงานสนับสนุนการจัดสวัสดิการชุมชน และการดูแลผู้ด้อยโอกาส เด็ก และผู้สูงอายุ เน้นการจัดบริการเสริมในชุมชนเพื่อการดูแลผู้ที่สมควรได้รับการช่วยเหลือเกื้อกูล เช่น ผู้ไร้ที่พึ่ง ครอบครัวที่ถูกทอดทิ้ง คนแก่ที่อยู่กับเด็กตามลำพัง เป็นต้น ในรูปแบบที่หลากหลายตามสถานการณ์ที่เกิดขึ้นจริงในชุมชน 5) แผนงานฟื้นฟูความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 5 ฟื้นฟูความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติ/สิ่งแวดล้อม

สศช. ทุนในชุมชน ทุนมนุษย์ (ทางสุขภาพ) ทุนทางสังคม ทุนที่เป็นเงิน ทุนความรู้ และ กระบวนการเรียนรู้ ทุนทางสังคม สศช. ทุนในชุมชน ทุนสิ่งแวดล้อม ทุนที่เป็นเงิน เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านได้ให้ความหมายของทุนต่าง ๆ ที่ใช้ในการพัฒนาชีวิตความเป็นอยู่ไปสู่ความอยู่ดีมีสุข ได้แก่ - ทุนทางสุขภาพ ได้แก่ แรงงานที่แข็งแรงในครัวเรือนทั้งทางร่างกายและจิตใจ - ทุนทางสังคม ได้แก่ ญาติสนิทมิตรสหายที่จะมารวมตัวอย่างต่อเนื่อง เพื่อร่วมคิด ร่วมเรียนรู้ และร่วมทำ -ทุนที่เป็นเงิน - ทุนสิ่งแวดล้อม ที่ดิน น้ำ ต้นไม้ สัตว์ต่าง ๆ ทั้งที่เลี้ยงและธรรมชาติ (สะท้อน คน ภูมิปัญญา การเรียนรู้)

เศรษฐกิจชุมชน ก้าวหน้า ลักษณะ การจัดการ ระดับและ ขั้นตอน การพัฒนา เศรษฐกิจชุมชน ลักษณะ การจัดการ พึ่งตนเอง พอเพียง ก้าวหน้า ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ออม ดูแลสุขภาพ แผนชีวิต -ปลูกพืช เลี้ยงสัตว์ สมุนไพรไว้กินใช้เอง -หมักน้ำปลากินเอง -ทำยาสระผมใช้เอง - เกษตรผสมผสาน - พืชสัตว์เศรษฐกิจ - อุตสาหกรรมในครัวเรือน ฝีมือ - นวด สมุนไพร ดูแลสุขภาพ - ท่องเที่ยว โฮมสเตย์ ครอบครัว ชุมชน และ เครือข่าย -โรงงานน้ำปลา -โรงสีข้าวชุมชน -โรงงานปุ๋ยชีวภาพ -โรงงานอาหารสัตว์ - กลุ่มออมทรัพย์ - โรงงานแปรรูปยาง แป้งขนมจีน - โรงสีข้าวอินทรีย์ - โรงงานอาหารสัตว์ ปุ๋ยชีวภาพ - ท่องเที่ยวนิเวศ โฮม-ลองสเตย์ - นวด สมุนไพร ผลิตภัณฑ์สุขภาพ - ธนาคารชุมชน (ระดับเครือข่าย) ระบบวิสาหกิจชุมชน ระบบออม-ทุน ระบบสวัสดิการ ระบบสุขภาพชุมชน ระบบสิ่งแวด ล้อม ข้อมูล - ความรู้ - ศักยภาพชุมชน

เกณฑ์การกลั่นกรองโครงการและงบประมาณ เกณฑ์ที่ จังหวัดใช้ พิจารณา สนับสนุน โครงการ 1) กระจายครอบคลุม 5 แผนงาน ตามภูมิสังคม 2) เกิดจากการร่วมคิดค้น กระบวนการมีส่วนร่วม 3) กิจกรรม/โครงการที่มีการบูรณาการกับแผนท้องถิ่นและโครงการของหน่วยงานต่างๆ 4) หลีกเลี่ยงความซ้ำซ้อนกับภารกิจของส่วนกลาง 5) ไม่สนับสนุนค่าใช้จ่ายสำหรับเดินทางไปต่างประเทศ

กลไกและกระบวนการ กลไก 3 ระดับ ชาติ จังหวัด อำเภอ กลไก ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม ประเมินศักยภาพชุมชน ลักษณะโครงการ การเขียนรายละเอียดโครงการ การเสนอโครงการ การจัดทำโครงการ

การจัดสรรงบประมาณปี 2551 จัดสรรตามเกณฑ์ปี 2550 จัดสรรเท่ากัน ประชากร ครัวเรือนรายได้น้อย สัดส่วนคนยากจน ร้อยละ 90 จัดสรรตามวิสัยทัศน์และแผนการขับเคลื่อนของจังหวัด ร้อยละ 9 ส่วนที่ 1 ร้อยละ 90 ของงบประมาณทั้งหมดจัดสรรตามหลักเกณฑ์เดิมที่ใช้ใน ปี 2550 ซึ่งประกอบด้วย ร้อยละ 60 จัดสรรให้เท่ากันทุกจังหวัด ร้อยละ 10 จัดสรรให้ตามจำนวนประชากรของแต่ละจังหวัด ร้อยละ 15 จัดสรรตามจำนวนครัวเรือนที่มีรายได้ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จปฐ. ร้อยละ 15 จัดสรรตามสัดส่วนความยากจน ส่วนที่ 2 ร้อยละ 10 ของงบประมาณทั้งหมด จำแนกการจัดสรรเป็น 1) ร้อยละ 9 จัดสรรตามวิสัยทัศน์ และแนวทางการขับเคลื่อนของจังหวัด 2) ร้อยละ1 จัดสรรเป็นงบสำหรับการบริหารจัดการและการติดตามประเมินผล สำหรับส่วนกลางและส่วนภูมิภาค งบบริหารจัดการ และติดตามผล ร้อยละ 1

วิสัยทัศน์ของจังหวัด ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด VISION/GOAL การใช้ยุทธศาสตร์ เป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการเพื่อเปลี่ยนผ่านความต้องการ-การแก้ปัญหา มุ่งให้ชุมชนพึ่งตนเองได้มากขึ้น เป้าหมายการยกระดับการพัฒนาชุมชนจากเกรด B - A การยกระดับจาก C-B และการเสริมสร้างกระบวนการเรียนรู้ในชุมชนที่ยังไม่มีกระบวนการแผนชุมชน เป้าหมาย แผนดำเนินงาน Road Map จังหวัดแสดงแผนการดำเนินงานในการขับเคลื่อนการยกระดับคุณภาพของชุมชนตามเป้าหมาย แนวคิดการประสานความคิดของชุมชนให้เชื่อมโยงกับแผนงานอื่นๆ และงบประมาณ KPI ให้จังหวัดแสดงตัวชี้วัดเพื่อการประเมินผลการปฏิบัติงานในเชิงประสิทธิภาพ

แผนการดำเนินงานเพื่อยกระดับการพัฒนาชุมชน Realization of vision & goals through strategic direction วิสัยทัศน์และ เป้าประสงค์ เป้าหมาย ยกระดับการพัฒนา ปี2551 ทบทวนสถานภาพ ชุมชนใน ปัจจุบัน ทรัพยากรและ ความสามารถหลัก แผนการดำเนินงานเพื่อยกระดับการพัฒนาชุมชน KPI

ข้อสังเกตจากการดำเนินงานปี 2550 จังหวัดได้ยึดแนวทางสำคัญในการให้ชุมชน ดำเนินการ แก้ปัญหาของตัวเอง เริ่มมีการเชื่อมโยงกับ อปท.และหน่วยงานภาครัฐ ความ สำเร็จ เบื้องต้น สิ่งที่ อยากเห็น มากขึ้น การสร้างกระบวนการเรียนรู้และการจัดการความรู้ การวางทิศทางการพัฒนาและแก้ปัญหาตามศักยภาพ การบูรณาการทุกระดับชั้น ความเข้าใจในปรัชญาของยุทธศาสตร์ สิ่งที่ พึงระวัง การจัดโครงการสำเร็จรูป การส่งเสริมอาชีพเหมือนกันทั้งตำบล งบประมาณไปการหารแบ่ง การสนับสนุนโครงการที่เป็นบทบาทส่วนกลาง/Function