ความทุกข์จากการรักษามะเร็งสู่การแสวงหาการเยียวยา ศิริวรรณ คำฝั้น พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ วิไลวรรณ สำเภาแก้ว พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลสอง จังหวัดแพร่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

วาระก่อนการประชุม มอบดอกไม้แสดงความยินดีผู้ได้รับรางวัลคัดเลือกผลงานวิชาการดีเด่นเครือข่ายบริการที่ ๑๐ รางวัลชนะเลิศการนำเสนอผลงานประเภท Oral Presentation.
แบบนำเสนอผลงานโครงการ
การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
ข้อมูลการเข้าถึงบริการและคุณภาพบริการ หน่วยบริการในพื้นที่ เขต ๖ ระยอง
งานวิจัยทางคลินิก เรื่อง : ความน่าเชื่อถือของระดับ Serum PSA ในการตรวจหา มะเร็งต่อมลูกหมากเปรียบเทียบกับผลการตรวจชิ้นเนื้อ ต่อมลูกหมาก ( PROSTATE.
PNEUMONIA UNDER FIVE YEAR IN BUDDHACHINARAJ HOSPITAL
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จของรพ.สต.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านพระแท่น ตำบลพระแท่น อำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี รับผิดชอบดูแลพื้นที่ 16 หมู่บ้าน 1 อบต. 1 เทศบาล มีประชากร 9,054 คน.
ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
รู้จักกัน ผ่านชื่อย่อ
8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน กับงานสร้างเสริมสุขภาพ
ประชุมwar room ครั้งที่ 3/2554
สถานการณ์ไข้เลือดออก จังหวัดสุรินทร์
ผลการพัฒนาระบบการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
อุทัยวรรณ สกลวสันต์ พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลน่าน
กำหนดงานพัฒนาคุณภาพที่จะสร้างระบบช่วยกันในเครือข่าย
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม –19 เมษายน 2551 สัปดาห์ที่ 16_ปี2551 ต่อแสนประชากร เขตตรวจราชการ.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 4 มกราคม 2552_ 13 มิถุนายน 2552 สัปดาห์ที่ 23 ปี 2552 ต่อแสนประชากร ที่มา.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 3 มกราคม มกราคม สัปดาห์ที่ 2 ปี 2553 ต่อแสนประชากร.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนก ตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ข้อมูลสะสม ตั้งแต่ 1 มกราคม –9 กุมภาพันธ์ 2551 สัปดาห์ ที่ 6_ ปี 2551 เขตตรวจราชการ ต่อแสนประชากร.
สรุปสถานการณ์โรคและภัยสุขภาพ ประจำเดือนธันวาคม 2549(ณ สัปดาห์ที่ 51)
กลุ่มระบาดวิทยา สคร.6 ขก.. สถานการณ์เฝ้าระวังผู้ป่วยสงสัยไข้หวัดนก ในพื้นที่ สคร.6 ขก. ปี 2549 (1 มค.- 22 พย.49)
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา พื้นที่รับผิดชอบ สคร. ที่ 6 ขก. ปี 2549 ( ณ สัปดาห์ 26 )
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 3 มกราคม 2553–26 มิถุนายน 2553 สัปดาห์ที่ 25 ปี 2553 ต่อแสนประชากร ที่มา.
การพัฒนางานประจำสู่การวิจัย Routine to Research : R2R
สาเหตุการเสียชีวิตผู้ป่วยปอดบวม จังหวัดเพชรบุรี ปี 2555.
ระบาดวิทยาโรคปอดบวมของจังหวัดเพชรบุรี
การระบุตำแหน่ง ตาม พรบ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
จำนวนผู้ป่วยไข้ปวดข้อยุงลาย (CHIKUNGUNYA) แยกรายอำเภอ ของจังหวัดตรัง พ. ศ.2552.
แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต ของโรงพยาบาลชุมชน ในปีงบประมาณ 2553
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
ยินดีต้อนรับ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดระยองและคณะติดตามประเมินผล
การประชุม Dead Case Conference
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน พฤษภาคม 2557 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี
โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือนเมษายน 2554 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือนพฤษภาคม 2554 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
โครงการรณรงค์ให้วัคซีนไข้หวัด ใหญ่ตามฤดูกาล จังหวัดอุดรธานี ปี 2554 รณรงค์ 1 มิย. – 31 สค 54 จำนวนวัคซีน 6 พันโด๊สในบุคลากร & 4.5 หมื่นโด๊ส ในประชาชน โรงพยาบาลเป็นหน่วยบริการหลัก.
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดอุดรธานี วันที่ 20 กันยายน 2553
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
นโยบายด้านส่งเสริมสุขภาพ กลุ่มผู้สูงอายุ
คปสอ.เมืองปาน.
การใช้ระบาดวิทยา เพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์ในพื้นที่
การดำเนินงาน อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง แบบยั่งยืน จังหวัดน่าน
นโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
จากปัญหา พาเรียนรู้ สู่นวตกรรม อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน
ผลงานเดือนเม.ย.-ธ.ค.56 ถึงเดือน ม.ค.57
การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันในระบบ Stroke Fast track เครือข่ายบริการโรงพยาบาลสกลนคร ประภัสสร สมศรี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ,
การเขียนเหตุผลการจัดทำ แผนงบลงทุน. อาคารรักษา เป็น โรงพยาบาลขนาด เตียง พัฒนา ระบบบริการด้าน สอดคล้องกับ service plan……….. มีผู้ป่วยนอก
นโยบายและแนวทางการดำเนินงาน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
การพัฒนางานวิกฤตสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2558
แผนพัฒนาระบบบริการ สาขาบริการปฐมภูมิ
สรุปผลงานส่วนสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ พ. ศ โครงการรณรงค์ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ประจำปี 2555 ระยะเวลาดำเนินการ วันที่ 1.
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
เอกสารประกอบการประชุม “โครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลและป้องกันโรคไตเรื้อรังในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง” รุ่งรักษ์ ภิรมย์ลาภ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ.
สถานการณ์โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือนมิถุนายน 2553 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
นโยบายการขับเคลื่อนงานสาธารณสุข อำเภอเมืองยโสธร ปีงบประมาณ ๒๕๕๘
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดโรคและภัยสุขภาพ รอบ 5 เดือน ( ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2554 )
การพัฒนาสุขภาพ : กลุ่มเด็กวัยเรียน
ภาวะแทรกช้อน โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง นพ.อำพล เวหะชาติ
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพตามกลุ่มวัย เด็กวัยเรียน 5-14 ปี
โครงการนำร่องการลดโอกาสเสี่ยงต่อการเกิด โรคหัวใจและหลอดเลือด
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่ เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัด สิงห์บุรี
สำนักงานสาธารณสุขอำเภอป่าติ้ว
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความทุกข์จากการรักษามะเร็งสู่การแสวงหาการเยียวยา ศิริวรรณ คำฝั้น พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ วิไลวรรณ สำเภาแก้ว พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลสอง จังหวัดแพร่

ความเป็นมา สถิติการป่วยด้วยมะเร็งเป็นอันดับ 3 ของประเทศรองจากหัวใจหลอดเลือดและ เบาหวาน ในพื้นที่อำเภอสอง ปี 2553 พบอัตราป่วยเป็น : แสนประชากร (<20: แสน ปชก.) ข้อมูลการมารับการรักษาที่ ร. พ. มีน้อย

วัตถุประสงค์ ศึกษามุมมอง / ประสบการณ์การเจ็บป่วยด้วยมะเร็งเต้านมของผู้ป่วยและครอบครัว ศึกษาวิธีการรักษาและเงื่อนไขการเยียวยาของผู้ป่วยมะเร็งเต้านม เพื่อปรับปรุงรูปแบบและแนวทางในการดูแลที่เหมาะสมของผู้ป่วยมะเร็งเต้านม

คำถามวิจัย มุมมอง / ประสบการณ์ของผู้ป่วยและครอบครัวต่อมะเร็งเต้านมในความคิดของผู้ป่วย และญาติเป็นอย่างไร วิธีการรักษาและเงื่อนไขการเยียวยาของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมเป็นอย่างไร แนวทางในการดูแลที่เหมาะสมของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมควรเป็นอย่างไร

ระเบียบวิธีวิจัย เป็นวิจัยเชิงคุณภาพ สัมภาษณ์เชิงลึก สัมภาษณ์กลุ่ม การสังเกตอย่างมีส่วนร่วม

การเลือกตัวอย่าง เลือกผู้ป่วยจากทะเบียนของ ร. พ. 2 ตำบล ตำบลละ 2 ราย เป็นผู้ป่วยในเขตเมืองและเขตชนบท เป็นผู้ป่วยที่ผ่านการรักษาด้วยแพทย์แผนปัจจุบันมาก่อน

เครื่องมือ การสัมภาษณ์เชิงลึก การสัมภาษณ์กลุ่ม การสังเกตอย่างมีส่วนร่วม

การวิเคราะห์ข้อมูล นำข้อมูลวิเคราะห์กับทฤษฎี ความรู้สึก ความเชื่อ วัฒนธรรมทางสังคม

ข้อค้นพบ มุมมองประสบการณ์ : ความเชื่อเรื่องกรรมถูกใช้ในการอธิบายความเจ็บป่วย วิธีการและเงื่อนไขการเยียวยา : การแพทย์ทางเลือกคือคำตอบสุดท้าย ห่างไกลมะเร็ง : ห่างไกลทุกข์

ข้อเสนอแนะ การดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็งควรเป็นการดูแลที่ผสมผสานจิตใจ ศีลธรรมและสังคม ซึ่งเป็นทัศนะของการมองปัญหาด้านสุขภาพที่กว้างขวางและซับซ้อน ทีมการรักษา เยียวยา ควรให้ความสำคัญต่อการดูแลผู้ป่วยมะเร็ง เพราะ ทุกๆกระบวนการของการรักษามีความเชื่อมโยงกัน

ขอขอบคุณ ผู้ป่วยมะเร็งและญาติทั้ง 4 ราย ดร. นพ. โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ นพ. วันชัย วันทนียวงค์ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลสอง งานคุณภาพโรงพยาบาลสอง สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล ( องค์การมหาชน ) สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ อ. อรชร โวทวี อาจารย์ที่ปรึกษา