แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง สมมติฐาน ตัวแปร.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สีของผ้าที่ทำให้เหงื่อตกได้
Advertisements

นางสาวอัปสร ศิลปาจารย์
โครงงานคอมพิวเตอร์.
โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
Research and Development (R&D)
: วัตถุประสงค์การวิจัย : การนิยามศัพท์
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
• เป็นความจริง เชื่อถือได้ • แตกต่างจากความรู้ เดิม • ใช้ประโยชน์ได้ • เหมาะกับบริบทและ ความต้องการ ของสังคม • เป็นสากล • นำไปสู่การพัฒนา หรือต่อยอด.
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
การศึกษาทางชีววิทยา Umaporn.
อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
การศึกษาชีววิทยา.
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
ในวันหนึ่งๆสภาพอากาศเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร
การศึกษาชีววิทยา หน้าถัดไป.
ตัวชี้วัด รายวิชา อ ต 1.1 ม.2/1 ปฏิบัติตามคำขอร้อง คำแนะนำ คำ ชี้แจง และคำอธิบาย ง่าย ๆ ที่ฟังและ ชี้แจง และคำอธิบาย ง่าย ๆ ที่ฟังและ อ่าน อ่าน.
Experimental Research
การวางแผนและการดำเนินงาน
การทดสอบแป้ง ในผงซักฟอก
โครงงานสุขภาพ ทดลองผงซักฟอก.
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
การจัดกระทำข้อมูล.
การออกแบบการวิจัย.
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
จากการสังเกต นำไปสู่คำถามวิจัย นำไปสู่สมมติฐาน
1. ตัวแปรต้น 2. ตัวแปรตาม 3. ตัวแปรควบคุม การกำหนดและควบคุมตัวแปร.
การเขียนรายงานการวิจัย
ตัวอย่างการเขียน บทที่ 1 บทนำ.
โครงสร้างขององค์กร (Organization Structure)
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
เรื่องหลักการแก้ปัญหา
การเขียนรายงานการวิจัย
หลักสูตรพัฒนาความสามารถในการสร้างเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
กระบวนการวิจัย Process of Research
ใส่ชื่อเรื่องงานวิจัย กะทัดรัด มีตัวแปรต้น ตัวแปรตาม อย่างชัดเจน
ความหมายของวิทยาศาสตร์
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
กลวิธีการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
มหัศจรรย์ ... กระดาษแสนกล
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การเลือกหัวข้อโครงงาน.
3 แบบทดสอบก่อนเรียน 1. โครงงานวิทยาศาสตร์มีกี่ประเภท 1. 3 ประเภท 2. 4 ประเภท 3. 5 ประเภท 4. 6 ประเภท 2. ข้อใดไม่ใช่ประเภทของโครงงาน 1. โครงงานประเภททดลอง.
องค์ประกอบของการทบทวนวรรณกรรม
การเขียนรายงานเพื่อนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์
แบบทดสอบชุดที่ 2 คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวทำลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้
สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of Education) ให้ความหมายไว้ว่า คือ “การจัดการสืบค้นอย่างมีระบบเกี่ยวกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้รับจากการศึกษา”
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการทำวิจัย
ทักษะการอ่าน.
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การนำเสนอข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล คะแนนเต็ม 10 คะแนน.
Synthetic Analytic (การมองภาพรวม / ใหญ่ โดยเกิดจากการที่เรา (การมองภาพย่อย เกิดจากการที่เราเริ่มรู้สาเหตุ
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง กระบวนการสืบเสาะแสวงหาความรู้ คะแนนเต็ม 10 คะแนน.
CPE Project 1 บทที่ 2. ภาพรวม บทที่ 2 ทฤษฎีและหลักการ ทฤษฎี (theory) = สมมติฐานที่ได้รับการตรวจสอบ และทดลองหลายครั้งหลายหนจนสามารถอธิบาย ข้อเท็จจริงสามารถคาดคะเนทำนายสิ่งที่เกี่ยวข้อง.
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การเขียนเสนอรายงานโครงงาน คะแนนเต็ม 10 คะแนน.
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง สมมติฐาน ตัวแปร คะแนนเต็ม 10 คะแนน คำชี้แจง 1. ข้อสอบชุดนี้มี จำนวน 10 ข้อ 2. ให้เลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียวแล้ว เขียนเครื่องหมายกากบาท (X) ลงในกระดาษคำตอบ 1. ขั้นตอนใดเป็นการคาดคะเนถึงสาเหตุของปัญหา 1. ขั้นตอนการทดลอง 2. การปัญหา 3. การสรุป 4. การสมมติฐาน 2. ข้อใดเป็นลักษณะของสมมติฐานที่ดี 1. ครอบคลุมเหตุการณ์และปรากฏการณ์ต่างๆ ภายในสภาพแวดล้อมเดียวกัน 2. สามารถอธิบายปัญหาได้หลายแง่หลายมุม 3. สามารถแก้ปัญหาที่สงสัยได้อย่างชัดเจน 4. สามารถอธิบายปัญหาต่างๆ ได้แจ่มชัด 3. การทดลองเป็นขั้นตอนที่ทำเพื่ออะไร 1. เพื่อหาคำตอบ 2. เพื่อสร้างทฤษฎีใหม่ 3. เพื่อพิสูจน์สมมติฐาน 4. เพื่อสืบเสาะแสวงหาความรู้

4. สิ่งที่จัดให้ แตกต่างกัน ในการทดลองคือตัวแปรชนิดใด 1. ตัวแปรต้น 2. ตัวแปรตาม 3. ตัวแปรควบคุม 4. ตัวแปรต้นและตัวแปรตาม 5. สิ่งที่วัดให้ เหมือนกัน ในการทดลองคือตัวแปรชนิดใด 6. สิ่งที่เป็น ผล จากการจัดสถานการณ์ทดลองคือ 4 ตัวแปรต้นและตัวแปรตาม 7. “การศึกษาเกี่ยวกับการเสื่อมสลายของวิตามินซี ในน้ำผลไม้ต่างๆ กัน” สิ่งที่ต้องจัด ให้ แตกต่าง กันคือข้อใด 1. ปริมาณน้ำแป้งสุก 2. อุณหภูมิ 3. น้ำผลไม้ 4. ภาชนะที่ใช้ทดสอบ

8. แม่บ้านชะเอมต้องการทดสอบเปรียบเทียบ การขจัดคราบสกปรกออกจากผ้าของ 8. แม่บ้านชะเอมต้องการทดสอบเปรียบเทียบ การขจัดคราบสกปรกออกจากผ้าของ ผงซักฟอก ที่มีขายในท้องตลาด เพื่อตัดสินในเลือก แม่บ้านชะเอมจะต้องจัดอะไรให้ แตกต่างกัน 1. ชนิดของผ้า 2. ปริมาณผงซักฟอก 3. แรงที่ใช้ขยี้ผ้า 4. ชนิดของผงซักฟอก 9. เด็กชายเอก ไม่อ่านหนังสือจึงสอบตก ตัวแปรต้นคือข้อใด 1. สอบตก 2. เด็กชายเอก 3. ไม่อ่านหนังสือ 4. ชนิดของหนังสือ 10. จากข้อ 9 ตัวแปรตามคือข้อใด 2. ไม่อ่านหนังสือ 3. เด็กชายเอก 4. ชนิดของหนังสือ ทำกันได้ไหมค่ะ เด็กๆๆ