ทิศทางการลงทุนธุรกิจพลังงานทางเลือก ของประเทศไทย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หมวดหมู่ข้อมูล ข้อมูลด้านพลังงาน ข้อมูลด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม
Advertisements

งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
“สรุปสถานการณ์เศรษฐกิจประเทศไทยปี 2551
แนวทางการส่งเสริมการผลิตไฟฟ้า ศ.กิตติคุณ ดร. ดิเรก ลาวัณย์ศิริ
รายงานสถานการณ์การผลิตข้าว
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
ประมวลผล/คำนวณข้อมูลทุติยภูมิ
โครงสร้างรายงานสถานการณ์ พลังงานจังหวัด
การดาวน์โหลดข้อมูลจากเว็บไซต์ฐานข้อมูลพลังงานประเทศไทย
ร่วมสู่เส้นทางหัวใจสีเขียว เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน
งป. ทั้งหมด งป. เบิกจ่าย สวรส. วิท ย์ แพทย์สุขภา พจิต สบ ส. อนา มัย คร.คร. พัฒนฯอย , , ,061.3.
การผลิตไบโอดีเซลด้วยพลังงานจากแสงอาทิตย์
โลกร้อนกับการอนุรักษ์พลังงาน
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต
การใช้พลังงานในเศรษฐกิจไทย
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
บทที่ 2 การผลิตและการส่งพลังงานไฟฟ้า.
ความสำคัญของพลังงาน การอนุรักษ์พลังงาน
กลยุทธการผลิตและการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวของประเทศไทย
รายงานผลการปฏิบัติงาน กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
โครงการพัฒนาปศุสัตว์อินทรีย์ ปี 2555
25 กุมภาพันธ์ 2547 คริส และ ชื่นชม กรีเซน
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
Strategy Plan  ออม  การลงทุน  แก้ความจน ช่วยสังคม  เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย กำไร ความเข้มแข็ง ความ มั่นคง ทางการเงิน อย่างสมดุล / ยั่งยืนต่อเนื่อง ความเข้มแข็ง.
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับมาตรการ การตรึงราคา/กำหนดระดับราคาน้ำมัน
ความเชื่อมโยงของเป้าหมาย ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ผลผลิต โครงการและกิจกรรม กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ยุทธศาสตร์ระดับชาติ
กำลังการผลิตไฟฟ้า ตัวเลขปี 2542.
ระเบียบการรับซื้อไฟฟ้าจาก SPP ประเภทสัญญา Firm (1)
การส่งเสริมการผลิตไฟฟ้า พลังงานหมุนเวียน “ส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า”
การรับซื้อไฟฟ้าจาก SPP (1)
แผนผัง พลังงานเชิงพาณิชย์ ปี 2550
การรับซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียน
การสนับสนุน (โครงการ)
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554 (ครั้งที่ 1)
การประชุมคณะทำงาน PMQA หมวด 4 ครั้งที่ 1/2554 (ครั้งที่ 10)
หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
ประมาณการภาพรวมพลังงานไทย ( )
1 หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ ณ 8 มิถุนายน 2553.
สถานการณ์ ด้านพลังงานของโลก
ดุลยภาพพลังงานของประเทศไทย(Energy Balance)
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ โครงการที่ได้รับ
หมวด รายจ่าย รวม 9, , , , , , , งบ บุคลากร 4, , ,
LOGO บัญชีรายได้ประชาชาติและองค์ประกอบค่าใช้จ่าย.
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
20 December 2007 ดร. ชัยวัฒน์ วิบูลย์สวัสดิ์ ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ สถาบันวิจัยนโยบาย เศรษฐกิจการคลัง การบริหารการคลังกับบทบาทภาครัฐ “ เศรษฐกิจปีใหม่ กับ.
ปัจจัยผลักดันต่อการพัฒนาพลังงานไฟฟ้า
ความมั่นคงด้านการจัดหาปิโตรเลียมและ
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
สรุปการประชุมระดมความคิด
มูลค่าคำขอรับการส่งเสริมในเดือน ม. ค. 56 เพิ่มขึ้น 2 %
การปฏิบัติที่สำคัญซึ่งสัมพันธ์กับความมั่นคง (ด้านเศรษฐกิจ)
สถานการณ์พลังงานของประเทศไทย
แนวนโยบายของภาครัฐในการสนับสนุน การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์
ระเบียบการรับซื้อไฟฟ้า จากผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก พ.ศ. 2550
ส่วนจัดสรรน้ำและบำรุงรักษา สำนัก ชลประทานที่ 3 วันพุธที่ 30 ตุลาคม พ. ศ ณ ห้องประชุม 1 สำนัก ชลประทานที่ 3 วาระที่ 3.1 : สรุป รายงาน ผลการเบิกจ่าย.
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน
การสร้างสมดุลของอาหารและพลังงาน
ระเบียบการรับซื้อไฟฟ้า จากการผลิตไฟฟ้าพลังงานทดแทน
เรื่อง ปรากฏการณ์โลกร้อน จัดทำโดย นายยศพล ปรางค์ภูผา ช่างยนต์ กลุ่ม 3 เลขที่ 17 เสนอ อาจาน สมคิด มีมะ จำ.
RDF/ MSW Industry for Thailand
นโยบายพลังงาน-ปตท. และ ก๊าซCBG(2)
ภาวะราคาปาล์มน้ำมัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดชุมพร จังหวัดกระบี่
วาระที่ 3.3 รายงานภาวการณ์ลงทุนในช่วง 4 เดือนแรก ปี 2556.
มูลค่าคำขอรับการส่งเสริมตั้งแต่เดือน ม. ค. - ก. พ. 56 ลดลง 7 %
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทิศทางการลงทุนธุรกิจพลังงานทางเลือก ของประเทศไทย ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร รองอธิบดี กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน

สถานการณ์พลังงานประเทศไทย การใช้พลังงานขั้นสุดท้าย แบ่งตามชนิดพลังงาน 1.15 ล้านบาร์เรล(เทียบเท่าน้ำมันดิบ)/ต่อวัน มูลค่าการนำเข้า (พันล้านบาท) สัดส่วนการนำเข้า ( )/ผลิตในประเทศ ( ) 95% ไฟฟ้า 5% 13 33% 67% 42 ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหิน น้ำมัน 74% 26% 110 ก๊าซธรรมชาติ 1% 99% 50 น้ำมันสำเร็จรูป 85% 15% 1,020 น้ำมันดิบ 0% 20% 40% 60% 80% 100% คิดมูลค่าการนำเข้าน้ำมันดิบเป็น 82 %ของมูลค่าการนำเข้าทั้งหมด ซึ่งสูงถึง 1,125 พันล้านบาท เมื่อพิจารณาตามชนิดเชื้อเพลิงเชิงพาณิชย์ พบว่า ในปี 2554 ประเทศไทยมีการใช้พลังงานโดยรวม ......... บาร์เรล/วัน โดยเป็นน้ำมัน 47 % และ ก๊าซธรรมชาติ 38% องน้ำมันแล้วส่วนใหญ่ประเทศไทยยังต้องนำเข้าจากต่างประเทศประมาณ 85% และผลิตเองในประเทศเพียง 15% อย่างไรก็ตามค่าใช้จ่ายหลักด้านพลังงานที่มีมูลค่ามากกว่า 1.52 ล้านล้านบาท ยังเป็นค่าใช้จ่ายในการนำเข้าน้ำมันจากต่างประเทศซึ่งมีมูลค่ามากกว่า 600,000 ล้านบาท ภาคอุตสาหกรรม และภาคการขนส่ง เป็นภาคที่มีการบริโภคพลังงานสูงสุด คือมากกว่าร้อยละ 70 ของการบริโภคพลังงานทั้งประเทศ รวม 1,235 พันล้านบาท คิดเป็น 40 พันล้านUSD 2

นโยบายที่สำคัญเกี่ยวกับพลังงาน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2556) ยุทธศาสตร์ที่ 3 ความเข้มแข็งภาคเกษตร ความมั่นคง ของอาหารและพลังงาน ยุทธศาสตร์ที่ 6 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน แผนพัฒนาพลังงานทดแทน และพลังงานทางเลือก “Alternative Energy Develpoment Plan: AEDP” เป้าหมาย 25 % ใน 10 ปี (พ.ศ.2555-2564) นโยบายด้านพลังงานทดแทน (รัฐบาล นายกฯ ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร) 1. ส่งเสริมและผลักดันให้อุตสาหกรรมพลังงาน 2. สร้างเสริมความมั่นคงทางพลังงาน 3. กำกับราคาพลังงานให้มีราคาเหมาะสมเป็นธรรม 4. พัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก ให้สามารถทดแทนเชื้อเพลิงฟอสซิล  25% ภายใน 10 ปี 5. ลดระดับการใช้พลังงานต่อผลผลิตลง 25% ภายใน 20 ปี 3

รวม= 9,201 MW การพัฒนาไปสู่สังคมคาร์บอนต่ำ แผนการพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก การพัฒนาไปสู่สังคมคาร์บอนต่ำ งบประมาณสนับสนุนด้านการวิจัย และพัฒนา สนับสนุนการลงทุนโดยภาคเอกชน และชุมชน แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก 10 ปี (AEDP พ.ศ.2555-2564) เป้าหมาย การใช้พลังงานทดแทน 25 % ของการใช้พลังงานทั้งหมด ภายในปี 2564 พลังงานรูปแบบใหม่ คลื่น ความร้อนใต้พิภพ 2 MW 1 MW 3 MW แสง อาทิตย์ ลม 2,000 MW 1,200 MW 3,200 MW โรงไฟฟ้าพลังน้ำ เล็ก จิ๋ว ระบบสูบกลับ 324 MW 1,284 MW 1,608 MW พลังงานชีวภาพ ชีวมวล ก๊าซชีวภาพ MSW 3,630 MW 600 MW 160 MW 4,390 MW เชื้อเพลิงชีวภาพ เอทานอล ไบโอดีเซล เชื้อเพลิงใหม่ทดแทนดีเซล 9 ลล./วัน 5.97 25 ทดแทนน้ำมัน 44% รวม= 9,201 MW 4

สถานการณ์ภาพรวมการใช้พลังงานทดแทน ประเภท หน่วย กำลังการผลิตปัจจุบัน/ปริมาณการใช้ ณ ส.ค.55 เป้าหมายใหม่ ปี 2564 1. พลังงานลม MW 8.216* 1,200 2. พลังงานแสงอาทิตย์ 4.1 ผลิตไฟฟ้า 256.13 2,000 4.2 ผลิตความร้อน Ktoe 3.25 100 3. พลังน้ำขนาดเล็ก 95.70 1,608 พลังงานชีวภาพ 4. พลังงานชีวมวล 1,828.48 3,630 4,493 8,200 5. พลังงานก๊าซชีวภาพ 172.85 600 426.11 1,000 6. พลังงานขยะ (MSW) 6.1 ผลิตไฟฟ้า 35.484* 160 6.2 ผลิตความร้อน 78.17* 35 7. พลังงานคลื่น & พลังงานใต้พิภพ - 3 เชื้อเพลิงชีวภาพ 7. เอทานอล (Ethanol) ลล/ว 1.27 9.0 8. ไบโอดีเซล (Bio-Diesel) 2.76 5.97 9. เชื้อเพลิงใหม่ทดแทนดีเซล 25 รวมไฟฟ้า 2,396.86 9,201 รวมความร้อน 5,000.53 9,335 * ก.ย. 55 5 5

สรุปสถานภาพการรับซื้อไฟฟ้าจาก SPP&VSPP 6 EPPO : มีนาคม 2555

7 SPP & VSPP 8,266 MW 3,326 MW 2,837 MW 1,576 MW 263 MW 231 MW 35 MW น้ำ MSW ก๊าซชีวภาพ ลม ชีวมวล แสงอาทิตย์ รวมขอขายไฟฟ้า 35 231 263 1,574 2,837 3,326 8,266 1,508 160 600 1,200 3,630 2,000 9,201 EPPO : December 2011 SPP&VSPP (MW) เป้าหมาย ปี 2564 (MW)

การลงทุนด้านพลังงานทดแทน ปี 2554 มูลค่ารวมการลงทุน 44,936 ล้านบาท (รวมภาครัฐและเอกชน) 8

มาตราการส่งเสริม *จนถึง 2555 X X *จนถึง 2555 - FIT 9

พลังงานลม ห้วยบง 2 และ 3 กำลังการผลิตรวม 203 MW SPP & VSPP ดำเนินการขอ BOI 118.999 MW เป้าหมาย ปี 2564 1,200 MW ก.ย. 55 โครงการที่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง โครงการโรงไฟฟ้าพลังงานลม ห้วยบง 2 และ 3 จังหวัดชัยภูมิ กำลังการผลิตรวม 203 MW COD: ตุลาคม 2555 กุมภาพันธ์ 2557 จำนวนผู้ยื่นขอลงทุน (มิถุนายน 2555) SPP (10-90 MW) = 1,606.1 MW VSPP (<10 MW) = 36.25 MW SPP & VSPP EPPO : มีนาคม 2555   1. อยู่ระหว่างการพิจารณา 2. ได้รับการตอบรับซื้อแล้ว 3. ลงนาม PPA แล้ว รอ COD 4. ขายไฟฟ้าเข้าระบบแล้ว โครงการ ติดตั้ง (MW) ขายให้ EGAT/PEA SPP 19 904.30 856.10 3 276.00 270.00 4 326.20 290.00 - VSPP 31 62.250 61.740 6 29.413 25.963 25 73.168 69.834 0.38 Total 50 966.55 917.84 9 305.41 295.963 29 399.37 259.84 0.33 10

พลังงานลม แผน “Alternative Energy Develpoment Plan: ภาคใต้ 600 MW ชัยภูมิ นครราชสีมา เพชรบูรณ์ 1,000 MW พื้นที่ป่า ภูเขา/อุทยาน พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นป่าอุดมสมบูรณ์/ภูเขา แผน “Alternative Energy Develpoment Plan: AEDP เป้าหมายพลังงานลม 1,200 MW ใน 10 ปี (พ.ศ.2555-2564) ซึ่งมีศักยภาพทางทฤษฎี 1,600 MW แผนที่ศักยภาพพลังงาน - Meso Map - Micro Sitting ความละเอียด 200X200 เมตร จำนวน 5 โซน สถานีสำรวจศักยภาพพลังงานลม และระบบส่งข้อมูลศักยภาพพลังงานลม - จำนวน 23 สถานี ที่ระดับความสูง 90 เมตร - จำนวน 45 สถานี ที่ระดับความสูง 40 เมตร การขออนุญาตใช้พื้นที่ พื้นที่เขตปฏิรูปที่ดิน, นิคมสร้างตนเอง, ป่าสงวน แห่งชาติ, ราชพัสดุ และเขตทหาร การวิจัยและพัฒนาและพัฒนาอุปกรณ์ต่างๆ ของกังหันลมผลิตไฟฟ้า 11

ชีวมวล 908.8 MW 62% จากกากอ้อย 3,630 MW 8,200 ktoe รวม 1378.5 MW ปัจจุบัน การผลิตไฟฟ้า 1,828 MW การผลิตความร้อน 4,493 ktoe เป้าหมายปี 64 3,630 MW 8,200 ktoe จำแนกตามเชื้อเพลิง ส.ค. 55 ข้อมูลจาก EPPO : มีนาคม 2555 908.8 MW 62% จากกากอ้อย รวม 1378.5 MW SPP & VSPP EPPO : มีนาคม 2555   1. อยู่ระหว่างการพิจารณา 2. ได้รับการตอบรับซื้อแล้ว 3. ลงนาม PPA แล้ว รอ COD 4. ขายไฟฟ้าเข้าระบบแล้ว โครงการ ติดตั้ง (MW) ขายให้ EGAT/PEA SPP 5 148.00 121.00 3 214.00 133.50 96.80 89.00 22 614.00 362.10 VSPP 48 307.74 249.00 36 181.48 156.41 189 1,722.68 1,363.66 66 851.68 362.31 Total 53 455.74 370.00 39 395.48 289.91 192 1,819.48 1,452.66 88 1,465.68 724.41 12

ชีวมวล โอกาสการลงทุน โครงการที่สำคัญ พัฒนา สาธิตเทคโนโลยีและระบบผลิตพลังงานจากชีวมวล เช่น ในเครื่องยนต์, ระบบ Three Stages Gasifier ส่งเสริมการใช้ระบบผลิตความร้อนด้วยก๊าซชีวมวล สำหรับโรงงานอุตสาหกรรมขนาดเล็ก พัฒนาระบบฐานข้อมูลศักยภาพชีวมวลในประเทศไทย พัฒนาและสาธิตระบบผลิตพลังงานจากชีวมวลในชุมชน แผนงานต่อไป ส่งเสริม High Pressure Boiler เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้าในโรงงานน้ำตาล สำรวจข้อมูลศักยภาพพลังงานชีวมวล ในระบบภูมิศาสตร์สารสนเทศเป็นรายจังหวัด/อำเภอ Promotion Zone เพื่อป้องกันการแย่งชิงเชื้อเพลิงและสร้างความสมดุลของการจัดหาวัตถุดิบ สร้างการมีส่วนร่วม ความรู้ความเข้าใจให้แก่ ชุมชนต่อโรงไฟฟ้าชีวมวล 13 13

แผนที่แสดงศักยภาพชีวมวลไทย ศักยภาพเทียบเท่าการผลิตไฟฟ้า (MW) ศักยภาพชีวมวลคงเหลือ มาใช้เป็นเชื้อเพลิงผลิตพลังงานไฟฟ้า ระดับภูมิภาค แผนที่แสดงศักยภาพชีวมวลไทย ชนิดชีวมวล ศักยภาพเทียบเท่าการผลิตไฟฟ้า (MW) ฟางข้าว 786.19 แกลบ 81.99 ใบและยอดอ้อย 716.15 ยอดใบและลำต้นข้าวโพด 201.92 ซังข้าวโพด 10.69 เหง้ามันสำปะหลัง 151.47 ลำต้นปาล์ม 71.25 ใบและทางปาล์ม 117.69 ทะลายปาล์มเปล่า 45.7 ราก ตอและกิ่งก้านไม้ยางพารา 32.05 ยอดใบและ ลำต้นถั่วเหลือง 20.97 ลำต้นถั่วเขียว 11.3 ลำต้นถั่วลิสง 4.9 รวม 2,252 MW ระดับอำเภอ www.dede.go.th พืชพลังงาน ? 14

อยู่ระหว่างการพิจารณา พลังงานขยะ ศักยภาพ ขยะชุมชนทั่วประเทศ ประมาณ 40,000 ตัน/วัน ปริมาณขยะเฉลี่ย 100 ตัน สามารถผลิตไฟฟ้าได้ 1 MW ณ ก.ย. 55 ปัจจุบัน การผลิตไฟฟ้า 35.484 MW การผลิตความร้อน 78.17 ktoe เป้าหมายปี 64 160 MW 35 ktoe สถานภาพ & เป้าหมาย สถานภาพการรับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานขยะ (SPP/VSPP)  (มี.ค. 55) ประเภทโครงการ อยู่ระหว่างการพิจารณา ได้รับการตอบรับซื้อแล้ว (ยังไม่ลงนาม PPA) ลงนาม PPA แล้ว (รอ COD) จำนวน(ราย) กำลังการผลิต (MW) ปริมาณเสนอขาย (MW) SPP/กฟผ. - 1 60.000 55.000 VSPP/กฟน. 1.600 0.800 VSPP/กฟภ. 17 83.110 75.200 7 8.700 7.860 13 53.329 48.912 รวม 18 84.710 76.000 8 68.700 62.860 หมายเหตุ : ข้อมูลจากเวบไซต์สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) และจากการสอบถามผู้ผลิตไฟฟ้าจากขยะโดยตรง 15

โครงการผลิตความร้อนจากพลังงานขยะที่ดำเนินการแล้ว (ส.ค. 55) 17 แห่ง กำลังการผลิต 35.484 MW ก.ย. 55 ที่ โครงการ/หน่วยงาน ก๊าซชีวภาพ (ลบ.ม./ปี) RDF (ตัน/ปี) ความร้อน (toe) 1 การผลิตก๊าซชีวภาพจากขยะเศษอาหาร 3 แห่ง ติดตั้ง ณ โรงแรมคำแสด จ.กาญจนบุรี โรงแรมชุมพรคาบาน่า และโรงเรียนท่าแซะวิทยา จ.ชุมพร/สนพ. 100,000 - 47.34 2 โครงการส่งเสริมเทคโนโลยีก๊าซชีวภาพเพื่อจัดการของเสียจากเศษอาหารจากโรงแรม และสถานประกอบการต่างๆ 54 แห่ง/สนพ. 1,131,146 535.53 3 บริษัท ทีพีไอ โพลีน จำกัด (มหาชน) จ.สระบุรี 136,000 61,960 4 บริษัท จีโอไซเคิล ประเทศไทย จำกัด จ.สระบุรี 34,000 15,150 5 ต้นแบบระบบผลิตก๊าซชีวภาพจากขยะตลาดสด ติดตั้ง ณ ตลาดอตก. กทม. /พพ. 36,500 17.28 6 ต้นแบบระบบผลิตพลังงานจากขยะ ติดตั้ง ณ เทศบาลตำบลหนองม่วง ลพบุรี /พพ. 14,600 814 199.60 7 โครงการผลิตก๊าซชีวภาพจากขยะเศษอาหารในเรือนจำ 3 แห่ง ติดตั้ง ณ ทัณฑสถานวัยหนุ่มกลาง เรือนจำพิเศษธนบุรี และเรือนจำกลางอยุธยา/สนพ. 105,000 49.71 8 ระบบผลิตพลังงานจากขยะชุมชน 10 แห่ง ปัจจุบันเดินระบบแล้ว 8 แห่ง ได้แก่ ทต.โคกกรวด จ.นครราชสีมา,ทต.วังกระพี้ จ.อุตรดิตถ์,ทต.อิสาน จ.บุรีรัมย์,ทต.เดชอุดม จ.อุบลราชธานี,ทต.สามง่าม จ.นครปฐม,ทต.แกลง จ.ระยอง,ทต.พิมาย จ.นครราชสีมา,อบต.นาฝาย จ.ชัยภูมิ/พพ. 401,500 207.36 รวม 1,788,746 170,814 78.17 ktoe 16

วัตถุดิบทางเลือกใหม่ พืชพลังงาน พลังงานก๊าซชีวภาพ เป้าหมาย ระยะ 1 (2555-2559) ระยะ 2 (2560-2564) ไฟฟ้า (MW) 350 MW 600 MW ความร้อน (ktoe) 713 ktoe 1,000 ktoe ศักยภาพ ความร้อน 421 ktoe ศักยภาพ ไฟฟ้า 191 MW วัตถุดิบทางเลือกใหม่ พืชพลังงาน

SPP & VSPP ปัจจุบัน แผนการดำเนินงานต่อไป การผลิตไฟฟ้า 172.85 MW การผลิตความร้อน 426.11 ktoe ณ ส.ค. 55 สถานภาพการรับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานก๊าซชีวภาพ SPP & VSPP EPPO : มีนาคม 2555   1. อยู่ระหว่างการพิจารณา 2. ได้รับการตอบรับซื้อแล้ว 3. ลงนาม PPA แล้ว รอ COD 4. ขายไฟฟ้าเข้าระบบแล้ว โครงการ ติดตั้ง (MW) ขายให้ EGAT/PEA SPP - VSPP 18 30.190 31.553 29 56.007 50.367 49 93.242 81.919 69 118.046 98.931 Total 56.01 50.37 188.046 แผนการดำเนินงานต่อไป เผยแพร่ความรู้ด้านการผลิตและใช้ก๊าซชีวภาพอย่างปลอดภัย จัดทำมาตรฐาน/ กฎหมาย รองรับการผลิตและใช้ก๊าซชีวภาพให้มีความปลอดภัย การผลิตก๊าซชีวภาพจากชีวมวล/ของเสียผสม/พืชพลังงาน เพื่อเพิ่มมทางเลือก วัตถุดิบ, ศึกษาเทคโนโลยี Dry Fermentation, เพิ่มปริมาณการผลิตและใช้ก๊าซชีวภาพให้ เพียงพอกับการพัฒนาการใช้ไบโอมีเทนในภาคคมนาคมขนส่ง (ร่วมกับ NGV) ส่งเสริมการผลิตก๊าซชีวภาพในระดับครัวเรือน การผลิตไบโอมีเทนเพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิงในรถยนต์ 18

คิดเป็นการใช้เอทานอลเฉลี่ย เชื้อเพลิงชีวภาพ เป้าหมาย ปี 2564 สถานะปัจจุบันแก๊ซโซฮอล ไบโอดีเซล 5.97 ลล./วัน เอทานอล 9 ลล./วัน คิดเป็นการใช้เอทานอลเฉลี่ย ~ 1.3 ลล./วัน 56% มูลค่าการตลาด ปัจจุบัน ส.ค. 55 2.76 ลล./วัน 1.27 ลล./วัน ต้นทุนการผลิตเอทานอล (กากน้ำตาล/มันสำปะหลัง ) 17 -19 บาท/ลิตร 87.19 – 97.45 USD/บาร์เรล แนวนโยบายส่งเสริม ประชาสัมพันธ์ มาตรการราคา เพิ่มสถานีบริการ มาตรการจูงใจอื่นๆ ราคาน้ำมันเบนซิน 43 บาท/ลิตร อ้างอิงที่อัตราแลกเปลี่ยน 31 บาท ต่อ USD 19

การส่งเสริม E85 เพื่อไปสู่ความเป็น Green Energy * : ข้อมูลจากกรมธุรกิจพลังงาน เดือนมิถุนายน 2555 การใช้ E85 เฉลี่ย 78,000 ลิตร/วัน* รถยนต์ที่ใช้ E85ได้ 22,077 ล้านคัน สถานีบริการ 49 แห่งทั่วประเทศ การใช้ E20 เฉลี่ย 767,000 ลิตร/วัน* รถยนต์ที่ใช้ E20ได้ ~ 1 ล้านคัน สถานีบริการ 968 แห่งทั่วประเทศ ปัจจุบันมีการใช้ E10 เฉลี่ย 10.6 ล้านลิตร/วัน* ส่งเสริมการรับรู้เกี่ยวกับแก๊สโซฮอล์ E85 เพิ่มสถานีบริการแก๊สโซฮอล์ E85 รักษาความสามารถในการแข่งขันด้านราคาของแก๊สโซฮอล์ E85 ส่งเสริมการรับรู้เกี่ยวกับแก๊สโซฮอล์ E20 เพิ่มสถานีบริการ แก๊สโซฮอล์ E20 เพิ่มความสามารถในการแข่งขันด้านราคาของแก๊สโซฮอล์ E20 การเข้าถึงและราคา ส่งเสริมการใช้รถยนต์ Flex Fuel Vehicle ศึกษาความเป็นไปได้ของ FFV conversion kits ในรถยนต์เก่า ศึกษาความเป็นไปได้ของแก๊สโซฮอล์ E85 ในรถมอเตอร์ไซค์ ยกเลิกการใช้น้ำมันเบนซิน 91 ส่งเสริมการใช้แก๊สโซฮอล์ E10 ในรถมอเตอร์ไซค์ รถยนต์/รถจักรยานยนต์ 20

พลังงานแสงอาทิตย์ SPP & VSPP โครงการที่สำคัญ แผนงานต่อไป ปัจจุบัน การผลิตไฟฟ้า 256.13 MW การผลิตความร้อน 3.25 ktoe ส.ค. 55 โครงการที่สำคัญ แผนที่ศักยภาพพลังงานแสงอาทิตย์ฉบับใหม่ พัฒนา Solar Water Heater ต้นทุนต่ำ พัฒนาระบบ Solar Cooling เพื่อและตัวเก็บรังสีดวงอาทิตย์อุณหภูมิสูง ส่งเสริม Solar Water Heater แบบผสมผสาน ทั้งเอกชนและภาครัฐ ศึกษา พัฒนา และส่งเสริม ระบบอบแห้ง Solar Dryer ขนาดเล็ก เพื่อชุมชน ปัจจุบันมีสถานีตรวจวัดรังสี 38 สถานี แผนงานต่อไป ส่งเสริม PV Roof Top ใช้ Local Content เป็นเกณฑ์อัตรา FIT, ระเบียบมาตรฐานความปลอดภัย แก้ไข พรบ.โรงงานฯ 2535 ให้สามารถติดตั้ง PV ขนาดไม่เกิน 1 MW บนอาคารได้ ส่งเสริมระบบอบแห้งชุมชน รวม 50,000 ตารางเมตร ภายในปี 2565 สถานภาพการรับซื้อไฟฟ้าจาก SPP & VSPP EPPO : มีนาคม 2555   1. อยู่ระหว่างการพิจารณา 2. ได้รับการตอบรับซื้อแล้ว 3. ลงนาม PPA แล้ว รอ COD 4. ขายไฟฟ้าเข้าระบบแล้ว โครงการ ติดตั้ง (MW) ขายให้ EGAT/PEA SPP 3 175.72 171.00 - 211.85 210.00 1 60 55 VSPP 166 908.361 881.670 31 93.306 82.921 402 1,812.369 1,762.597 109 168.778 162.329 Total 169 1,084.08 1052.67 405 2,024.22 1972.60 119 228.78 217.32 21 21 21 21 21

ที่มา: บลูมเบิร์ก และ บล. เอเซีย พลัส หุ้นพลังงานทดแทน รุ่ง ธุรกิจไฟฟ้าพลังงานทดแทนมีอัตรากำไรสุทธิสูงถึง 47% เปรียบเทียบผลตอบแทนหุ้นพลังงานทางเลือกที่เติบโตมากกว่ากำไรตลาด หมายเหตุ: % ตั้งแต่ต้นปีจนถึงปัจจุบัน วันจันทร์ที่ 10 กันยายน 2555 หน้า B8 21% ดัชนีหุ้นไทย 17% GUNKUL 10% SPCG ประมาณการปี 2555 คำแนะนำลงทุนหุ้น กลุ่มพลังงานไฟฟ้าและพลังงานทดแทน หุ้น กำไรต่อหุ้น สัดส่วนราคาต่อกำไร ราคามูลค่าบัญชี อัตราผลตอบแทน (บาท) เท่า EGCO 20.45 5.8 1.1 4.45 GLOW 3.65 17.8 2.6 3.45 GUNKUL 1.57 11.1 4.7 3.60 RATCH 5.16 9.1 1.3 4.79 SPCG 0.81 20.1 3.1 0.00 ที่มา: บลูมเบิร์ก และ บล. เอเซีย พลัส 22

ขอขอบคุณ 23 23 23 23 23 23