เรื่องเสียง จัดทำโดย ด. ช. เกชาบำรุงปรีชา ด. ช. เฉลิมพลวงค์ศรี ด. ช. เมธิชัยใจมาเชื่อ นาย ธนบดีปิงจันทร์ นาย คริษฐ์วงค์ดาว นักเรียนชั้น ม.3 เสนอ คุณครู

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
Advertisements

เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ของ ด.ช. กฤษฎา หลาบเจริญ ม.2/3 เลขที่15 ปีการศึกษา2548
Chapter 6 : Video.
Chapter5:Sound (เสียง)
หน่วยที่ 2 การศึกษากับการรู้สารสนเทศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
งานบริการมัลติมีเดีย
การเขียน STORYBOARD STORYBOARD.
หลักการจัดทำสตอรี่บอร์ดสื่อมัลติมีเดีย
องค์ประกอบของมัลติมีเดีย
ระบบการสื่อสารข้อมูล
องค์ประกอบและประโยชน์ของมัลติมิเดีย
นายชะเวรินทร์ อินสุวรรณ เลขที่ 12 ม.5/4
องค์ประกอบ และ ประโยชน์ของมัลติมีเดีย
การงานอาชีพและเทคโนโลยี 2 (ง31102)
ขอบเขตของเทคโนโลยีสารสนเทศ
Power Director 4 ครั้งที่ 1/2548 วันพุธที่ 7 กันยายน 2548
เทคนิคการใช้โปรแกรม Sound Forge ในการบันทึกและตัดต่อเสียง
Multimedia การบรรยายทางวิชาการ เรื่อง
เครื่องเสียงเพื่อการศึกษา
การนำเสนอสื่อประสม.
การประยุกต์ ใช้งานมัลติมีเดีย
การประยุกต์ ใช้งานมัลติมีเดีย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปริศนา มัชฌิมา
เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยี + สารสนเทศ.
ดุษฎีนิพนธ์ (Ph.D.,) ของ Hashimi, Mohd Nasir
ฐานข้อมูลเสียงอิเล็กทรอนิกส์แบบฉบับเครื่องหนังไทย
ภาควิชา เทคโนโลยีการศึกษา
สมบัติของคลื่น 1. การสะท้อน 2. การหักเห 3. การแทรกสอด 4. การเลี้ยวเบน.
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
หน่วยที่ 3 สื่อการเรียนรู้สำหรับคอมพิวเตอร์พกพา (Tablet) กิจกรรมที่2 การผลิต การใช้ การประเมินผล สื่อ ICT.
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง. หลักการทำงาน และ
สื่อการสอนดนตรีเรื่อง Time signature
ด. ช. ภานุเดชขัดอุโมงค์ เลขที่ 1 ด. ช. นันทวัฒน์ ลิยอง เลขที่ 9 ด. ช. วสันต์ นามะยอม เลขที่ 12 ด. ช. ศักรินทร์ ทาแกง เลขที่ 14 ด. ช. สุทธิภัทร ปัญจมา เลขที่
จัดทำโดย 1. ด. ญ. ศุภรดา จายประมูล เลขที่ ด. ญ. เกสรา อินลม เลขที่ ด. ญ. ณีรนุช สมศักดิ์ เลขที่ 18 ชั้น ม.3/8 ชั้น ม.3/8.
การจัดการไฟล์ เสียง ของงานเทคโนโลยีและโสตทัศนศึกษา คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประภากร นนทลักษณ์ กรกฎาคม 2553.
ผู้จัดทำ ด. ช. อดิรุจ อินต๊ะ เลขที่ 14 ด. ช. อดิรุจ ใจปาละ เลขที่ 15 ด. ญ. จินตพร กันทะ เลขที่ 23 ด. ญ. จิราภา สาทร เลขที่ 25 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/6.
ง การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 ครูสหรัฐ บัวทอง
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาระนอง
สรุปหน่วยที่ 4 ใบความรู้ที่ 1 โดย ด. ช. จิรายุทธ กาบปัญโญ เลขที่ 3 ด. ช. ณัฐชนน ทาแกง เลขที่ 4 ด. ช. ดนุพงษ์ ราชสม เลขที่ 5 ด. ช. ทินกร ตาสาย เลขที่ 6.
เรื่อง เสียง (Sound) หรือ ออดิโอ (Audio)
อ. ปริญญา น้อยดอนไพร (V ) เทคโนโลยี มัลติมีเดีย (MULTIMEDIA TECHNOLOGY) บทที่ 2 วิวัฒนาการมัลติมีเดีย.
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องประเภทของเครื่องดนตรีไทย
เสียงเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่นิยมนำมาใช้งานด้าน มัลติมีเดีย ซึ่งสามารถถ่ายทอดอารมณ์ไปยังผู้ชมได้ เช่น การใช้เสียงระทึกใจเพื่อทำให้เกิดความตื่นเต้น หรือเสียงนกร้องเพื่อสร้างบรรยากาศตามธรรมชาติ
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ประเภทของไฟล์เสียงเสียง
นางสาวพัชรี เทพกัน รหัส
ISP ในประเทศไทย
เรื่อง เสียง (Sound)หรือ ออดิโอ (Audio)
1. ด. ช. ปิยวัฒน์ หมื่นเกี๋ยง เลขที่ 7 2. ด. ช. ศิรวิทย์ กิติ เลขที่ ด. ญ. กรกมล ตุ้ยเปง เลขที่ ด. ญ. กัลญารัตน์ เสาร์แก้ว เลขที่ 39 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ สมศักดิ์ เลขที่ 2 3/6.
เสียง จัดทำโดย 1. เด็กหญิง จุฑาทิพย์ ใจ พนัส เลขที่ เด็กหญิง พัชราวดี กวางแก้ว เลขที่ เด็กหญิง อรวรา ผุด ผ่อง เลขที่ 38.
เรื่อง เสียง (Sound) หรือ ออดิโอ (Audio)
เรื่อง เสียง (Sound) หรือ ออดิโอ (Audio)
จัดทำโดย ด.ช.ดนพล ศรีศักดา เลขที่ 2 ด.ช.ธนภัทร เอโปะ เลขที่ 5
หลักการบันทึกเสียง.
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
การส่งเสริมความสามารถด้านไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ
* ความหมายของระบบ เครือข่าย ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) หมายถึงการ นำเครื่องคอมพิวเตอร์ มาเชื่อมต่อเข้า ด้วยกัน โดยอาศัยช่องทางการสื่อสาร.
การสื่อสาร ข้อมูล (Data Communication) การสื่อสารข้อมูล (Data Communications) กระบวนการถ่ายโอนหรือ แลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่ง และผู้รับ โดยผ่านช่องทางสื่อสาร.
ซอฟต์แวร์ (software) จัดทำโดย นาย ยุทธพงศ์ คำยอง
สรูปบทที่ 1 จัดทำโดย ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ.
การสื่อสารข้อมูล จัดทำโดย นางสาวกาญจนา แสงเพ็ชร
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สามารถ นำไปประยุกต์ในด้านต่างๆ เสนอโดย ด. ช. ปพนธีร์ สิทธิคณากูล ม.1/6 เลขที่ 12 ด. ช. ศุภกร พูลโภคะ ม.1/6 เลขที่ 11 ด.
Chapter5:Sound (เสียง)
เสียง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เรื่องเสียง จัดทำโดย ด. ช. เกชาบำรุงปรีชา ด. ช. เฉลิมพลวงค์ศรี ด. ช. เมธิชัยใจมาเชื่อ นาย ธนบดีปิงจันทร์ นาย คริษฐ์วงค์ดาว นักเรียนชั้น ม.3 เสนอ คุณครู ธัญญาชลทองสา

เสียง (Sound) เสียง เป็นอีกองค์ประกอบของมัลติมีเดีย อันจะ ช่วยให้เกิดบรรยากาศที่น่าสนใจในการรับรู้ทาง หู โดยอาศัยจะนำเสนอในรูปของ เสียงประกอบ เพลงบรรเลง เสียงพูด เสียงบรรยาย หรือเสียง พากษ์ เป็นต้น

ลักษณะของเสียง ประกอบด้วย คลื่นเสียงแบบออดิโอ (Audio) ซึ่งมีฟอร์แมตเป็น.wav,.au การบันทึกจะบันทึกตามลูกคลื่นเสียง โดย มีการแปลงสัญญาณให้เป็นดิจิทัล และใช้ เทคโนโลยีการบีบอัดเสียงให้เล็กลง ( ซึ่งคุณภาพก็ ต่ำลงด้วย ) เสียง CD เป็นรูปแบบการบันทึก ที่มีคุณภาพสูง ได้แก่ เสียงที่บันทึกลงในแผ่น CD เพลงต่างๆ MIDI (Musical Instrument Digital Interface) เป็น รูปแบบของเสียงที่แทนเครื่องดนตรีชนิดต่างๆ สามารถเก็บข้อมูล และให้วงจรอิเล็กทรอนิกส์ สร้างเสียงตามตัวโน้ต เสมือนการเล่นของเครื่อง เล่นดนตรีนั้นๆ เทคโนโลยีเกี่ยวกับเสียง ประกอบด้วย

เสียงที่ทำงานผ่านคอมพิวเตอร์ เป็น สัญญาณดิจิตอล ซึ่งมี 2 รูปแบบคือ Synthesize Sound เป็นเสียงที่เกิดจากตัววิเคราะห์เสียง ที่เรียกว่า MIDI โดยเมื่อตัวโน้ตทำงาน คำสั่ง MIDI จะถูกส่งไปยัง Synthesize Chip เพื่อทำการแยกสียงว่าเป็นเสียงดนตรีชนิดใด ขนาดไฟล์ MIDI จะมี ขนาดเล็ก เนื่องจากเก็บคำสั่งในรูปแบบง่ายๆ Sound Data เป็นเสียงจากที่มีการแปลงจากสัญญาณ analog เป็น สัญญาณ digital โดยจะมีการบันทึกตัวอย่างคลื่น (Sample) ให้อยู่ที่ใด ที่หนึ่งในช่วงของเสียงนั้นๆ และการบันทึกตัวอย่างคลื่นเรียงกันเป็น จำนวนมาก เพื่อให้มีคุณภาพที่ดี ก็จะทำให้ขนาดของไฟล์โตตามไป ด้วย Sample Rate จะแทนด้วย kHz ใช้อธิบายคุณภาพของเสียง อัตรา มาตรฐานของ sample rate เท่ากับ 11kHz, 22kHz, 44kHz Sample Size แทนค่าด้วย bits คือ 8 และ 16 บิท ใช้อธิบายจำนวนของ ข้อมูลที่ใช้จัดเก็บในคอมพิวเตอร์ คุณภาพเสียงที่ดีที่สุด ได้แก่ Auido- CD ที่เท่ากับ 44kHz ระบบ 16 บิท เป็นต้น

สรุป มาตรฐานการบีบอัดข้อมูล เสียงที่มีคุณภาพดี มักจะมีขนาดโต จึงต้องมีการบีบอัดข้อมูลให้มี ขนาดเล็กลง มาตรฐานการบีบอัดข้อมูล

จบการนำเสนอ