HTTP (Hyper Text Transfer Protocol )

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
และเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Advertisements

เรื่อง เครือข่ายอินเทอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
ความหมายของไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ( )
Script Programming& Internet Programming
บทที่ 12 การจดทะเบียนชื่อโดเมน (Domain Name Registration)
พื้นฐานความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
HTML เบื้องต้น ธวัชชัย สลางสิงห์.
การพัฒนาการใช้งานในระบบเว็บ
วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web-based Programming)
วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web-based Programming)
บทที่ 6 สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ปฏิบัติการที่ 3 : การสร้างโฮมเพจอย่างง่าย
HTTP Client-Server.
World Wide Web WWW.
(Hypertext Transport Protocol)
การสื่อสารทางไกลและเครือข่าย (Telecommunication And Networks)
ARP (Address Resolution Protocol)
Data Transferring.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Transport Layer.
File Transfer (FTP), WWW, HTTP, DHCP.
Network programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka
การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (WEB PROGRAMMING) บทที่ 1 ความรู้เบื้งต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเวิลด์ไวด์เว็บ และโปรโตคอลที่เกี่ยวข้อง โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร.
เกียรติพงษ์ ยอดเยี่ยมแกร
ขั้นตอนการเขียนเว็บเพจ
การสร้างตาราง (Table)
โอฬาริก สุรินต๊ะ CS/MIS
รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายแบ่งตามกลุ่มผู้ใช้
ทบทวนความเข้าใจ.
ภาษาที่ใช้ในการเขียนเว็บไซต์
ภาษาที่ใช้ในการเขียนเว็บไซต์
What’s P2P.
IRC - Internet Relay Chat
บทที่ 1 เริ่มต้นกับ HTML.
CSC431 Computer Network System
Charter 12 1 Chapter 12 อินเทอร์เน็ต Internet.
นายวีระ คงกระจ่าง ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
กิจกรรมที่ 17 เว็บเบราว์เซอร์และ โปรแกรมค้นหา 1. อธิบายหน้าที่เว็บเบราว์เซอร์และ โปรแกรมค้นหา 2. ใช้เว็บเบราว์เซอร์และโปรแกรมค้นหา จุดประสงค์ กิจกรรมที่
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการสร้าง WebPage
กิจกรรมที่ 17 เว็บเบราว์เซอร์และ โปรแกรมค้นหา 1. อธิบายหน้าที่เว็บเบราว์เซอร์และ โปรแกรมค้นหา 2. ใช้เว็บเบราว์เซอร์และโปรแกรมค้นหา จุดประสงค์ กิจกรรมที่
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
Internet.
บทเรียนคอมพิวเตอร์ เรื่อง การใช้งานบน Internet.
 เนื่องจากในปัจจุบันทุกๆ ปีจะมี ภาษาคอมพิวเตอร์เกิดขึ้นมากมาย และ ภาษาต่างๆ จะมีจุดดีและจุดด้อย แตกต่างกันไป ผู้ใช้จึงจําเป็นต้องทําการ คัดเลือกภาษาที่จะนํามาใช้งานอย่าง.
HTML 1. รูปแบบพื้นฐานของ เอชทีเอ็มแอล
อินเทอร์เน็ต โดย.. ครูสาคร หนูอิน.
การเขียนเว็บเพ็จด้วยโปรแกรม
เริ่มต้นด้วยอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต.
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
Uniform Resource Location ( URL)
โครงสร้าง ภาษาซี.
การสร้างฟอร์ม(Form) ด้วยภาษา HTML
ISP ในประเทศไทย
Domain Name System   (DNS).
การใช้งานอินเตอร์เน็ต
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการโปรแกรมคอมพิวเตอร์
HTML (Hyper Text Markup Language) HTML (Hyper Text Markup Language) เป็นภาษา มาตรฐานสากลที่ใช้นำเสนอข้อมูลแบบ ผสมผสานในการสื่อสารแบบ World-Wide- Web.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่ 9 ซอฟต์แวร์ประยุกต์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
คำศัพท์ระบบอินเตอร์เน็ต
บทที่ 8 เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
Application Layer.
1. บทนำเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ตมีจุดเริ่มต้นมาจากเหตุผล ทางการทหาร เนื่องจากในยุค สงครามเย็น เมื่อประมาณ พ. ศ 2510 ระหว่างฝ่ายคอมมิวนิสต์ และฝ่ายเสรี
สื่อการสอนการเขียนเว็บเพจ ด้วยภาษา HTML
นางเชาวลี สมบูรณ์ดำรงกุล
ซอฟต์แวร์ (software) จัดทำโดย นาย ยุทธพงศ์ คำยอง
Mr. Winai Purikasem. Introduction  Hypertext model  Use of hypertext in World Wide Web (WWW)  WWW client-server model  Use of TCP/IP protocols in.
แบบจำลอง OSI Model.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

HTTP (Hyper Text Transfer Protocol )

HTTP ย่อมาจาก Hyper Text Transfer Protocol เป็นโปรโตคอลสื่อสารที่ทำงานอยู่บนระบบโปรโตคอล TCP HTTP ใช้ในระบบเครือข่ายใยแมงมุม (World Wide Web) ทำหน้าที่ในการจำหน่าย แจกจ่ายรวมไปถึงการรับข้อมูล จากระบบสื่อกลางชั้นสูง (Hypermedia System) ที่ประกอบด้วยเครื่องให้บริการ (Server) ที่มีอยู่มากมาย ทั่วโลก

รูปแบบเฟรมของ HTTP เนื่องจาก HTTP เป็นโปรโตคอลที่ทำงานบน TCPดังนั้น รูปแบบเฟรมของ HTTP จึงถูกจัดเป็นส่วนของข้อมูลของเฟรม TCP ดังรูป เฮดเดอร์ของ HTTP จะอยู่ในรูปของข้อความ(text) ข้อมูลของ HTTP โดยปกติจะเป็นข้อความ(text) ด้วยเช่นกัน แต่ก็เป็นรหัสฐานสอง (binary) ได้ใน เช่นกรณีที่เป็นรูปภาพ

การติดต่อสื่อสารของ HTTP รูปแบบการสื่อสารของ HTTP เป็นรูปแบบที่ง่ายมาก เครื่องลูกข่ายจะสถาปนาการเชื่อมต่อกับเครื่องให้บริการ(remote server) จากนั้นก็ส่งคำร้องขอ (Requests)ไปให้เครื่องให้บริการ เครื่องให้บริการเมื่อได้รับการร้องขอก็จะประมวลผลและส่งการตอบกลับ (Response)กลับไปให้เครื่องลูกข่าย แล้วปิดการเชื่อมต่อ

การร้องขอ (Requests) คำร้องขอของ HTTP นั้นง่ายมาก บรรทัดแรกจะระบุวัตถุ (Object) พร้อมด้วยชื่อคำสั่งที่ระบุถึงวิธีการ คำสั่งที่ใช้โดยทั่วไปคือ "GET" ซึ่งเป็นการขอให้เครื่องให้บริการส่งสำเนาของวัตถุ(Object) นั้นมาให้เครื่องลูกข่าย เครื่องลูกข่ายสามารถส่งเฮดเดอร์ตัวเลือก (Optional headers) ตามมาอย่างต่อเนื่องได้ ตามรูปแบบของ RCF-822 เฮดเดอร์ที่ใช้โดยทั่วไปคือ "Accept" ซึ่งจะแจ้งให้เครื่องให้บริการทราบว่า เครื่องลูกข่ายสามารถรับหรือทำงานกับวัตถุ (object) ชนิดใดได้บ้าง "User-Agent" ซึ่งจะให้ชื่อการอิมพลีเมนท์ของเครื่องลูกข่าย

การตอบกลับ (Responses) การตอบกลับก็ยังคงอยู่ในรูปแบบที่ง่ายมาก เริ่มต้นด้วยบรรทัดแสดงสถานะ ซึ่งจะบ่งบอกรุ่น (version) ของ HTTP ที่เครื่องให้บริการใช้อยู่ พร้อมกับรหัสผลลัพท์และข้อความอื่นๆ ตามด้วยเฮดเดอร์วัตถุ (optional object headers) ต่อเนื่องเป็นลำดับ ซึ่งที่สำคัญที่สุดคือ "Content-Type" ซึ่งจะบ่งบอกชนิดของวัตถุ (object) ที่ส่งกลับไปด้วย "Content-Length" ซึ่งจะบอกความยาวของวัตถุนั้น ส่วนที่เป็นเฮดเดอร์นี้จะต้องปิดท้ายด้วยบรรทัดว่างๆหนึ่งบรรทัด เมื่อจบส่วนเฮดเดอร์ก็จะตามด้วยข้อมูลที่เครื่องลูกข่ายร้องขอ และเครื่องให้บริการก็จะปิดการเชื่อมต่อหลังจากที่ส่งข้อมูลไปแล้ว  

หน้าที่ของ HTTP   - เป็นกลไก หรือโปรโตคอลหลักที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่าง Server และ Client ของ World Wide Web(www)  - กำหนดที่ตั้งทรัพยากรที่สอดคล้องกัน (Uniform Resoure Locators : URLs) - ผู้เขียนเว็บสามารถฝังจุดเชื่อมโยงหลายมิติ (Hyperlink) ในเอกสารในเว็บHTTP เป็น protocol ที่อยู่ในส่วนของ Application Layer โดย DATA ต่าง ๆ จาก Layer นี้จะถูกจากส่งผ่านไปยัง Layer อื่น ๆ ที่ต่ำกว่า

- มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลในรูปแบบภาษา HTML (HyperText Markup Language) โดยทำการแลกเปลี่ยนข้อมูลกันบน www - HTTP จะทำงานที่พอร์ต 80 - ส่งข้อมูลเป็นแบบ Clear text คือ ข้อมูลที่ทำการส่งไปนั้น ไม่ได้ทำการเข้ารหัส ทำให้สามารถถูกดักจับข้อมูลนั้นได้โดยง่าย - มาตรฐานของ HTTP ปัจจุบันคือ HTTP 1.1 ซึ่งใช้กันอย่างกว้างขวาง

รายชื่อสมาชิก น.ส. จิรนันท์ นามวิเศษ เลขที่ 17 น.ส. จิรนันท์ นามวิเศษ เลขที่ 17 น.ส. ธนาภรณ์ ธรรมสุทธิ์ เลขที่ 37 น.ส. ธนาภรณ์ ภู่โสภา เลขที่ 38 นักศึกษาพยาบาลศาสตร์ชั้นปี 1 ห้อง ก.