แนวทางในการจัดกิจกรรมเสริมสร้าง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ช่วยลูกเตรียมพร้อม... พ.ญ.นัทธ์ชนัน จรัสจรุงเกียรติ
Advertisements

ปรับพฤติกรรมสุขภาพ.
เรื่อง การบริหารจิตเพื่อสุขภาพ
พญ.มณฑา ไชยะวัฒน ศูนย์อนามัยที่4 ราชบุรี
การจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับธรรมชาติ ของเด็กแต่ละวัย
การสร้างวินัยเชิงบวก
ยินดีต้อนรับสู่.
4.จัดทำรูปเล่มงานเขียนวรรณกรรมวันเด็กแห่งชาติให้สวยงาม 1 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 วิชาภาษาไทย หน่วยการเรียนรู้ เข้าแถว
เรื่องการเจริญเติบโตและพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย และ การปฏิบัติตนให้เหมาะสม กับพัฒนาการทางด้านร่างกาย พลศึกษาและสุขศึกษา ป.4.
โรงเรียนอนุบาลหมู่บ้านเด็ก สานรัก
แนวคิดการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
โครงงาน “นำเที่ยวงานชมรมนิทรรศน์”
สุขบัญญัติ 10 ประการณ์ 1. ดูแลรักษาร่างกายและของใช้ให้สะอาด
EQ หลักสูตร การบริหารอารมณ์ สู่การทำงานอย่างมืออาชีพ
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
RECRUITMENT.
พัฒนาการทางสังคมของวัยรุ่น
พัฒนาการทางด้านสติปัญญาของวัยรุ่น
พัฒนาการด้านสังคมของเด็ก
สอนอย่างไรใน 50 นาที.
กิจกรรมนันทนาการ.
การพัฒนานักเรียนโดยครูและโรงเรียน
การจัดการเรียนรู้โดยใช้ “เกม” (Game)
การจัดระดับความเหมาะสมของรายการโทรทัศน์ : ทำไม อะไรอย่างไร โดยใคร ???
การทำกิจกรรมจิตวิทยาอาสาพัฒนาชุมชน ต.บ้านพร้าว อ.ป่าพะยอม จ.พัทลุง
( Theory of Multiple Intelligences ) Gardner (การ์ดเนอร์)
มนุษย์สัมพันธ์ ในการทำงานเป็นทีม
สุขภาพจิต และการปรับตัว
อาจารย์สุพรรนี ภู่กำชัย
ปัญหาที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในวัยรุ่น
การส่งเสริมและป้องกัน ปัญหานักเรียน
ทักษะการใช้กิริยาท่าทาง และบุคลิกการเป็นครู
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
พลังพ่อแม่...พลังครอบครัว
เทคนิคการสร้างเสริมเด็กวัยเรียน
การส่งเสริมพัฒนาการและพฤติกรรมเด็กอย่างสร้างสรร
สรุปผลการส่งเสริมพัฒนาการเด็กวัย ๐ - ๕ ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
การสร้างวินัยเชิงบวก
การส่งเสริมพัฒนาการทางสังคมสำหรับเด็กปฐมวัย
ความเป็นมาของกิจกรรมYC ท่ามกลางความวุ่นวายของสังคม และสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว  วัยรุ่นไทยได้รับการครอบงำจากสื่อ วัฒนธรรมจากต่างชาติ
รูปแบบการสอน.
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
อินเตอร์เน็ตกับครูภาษาอังกฤษ บทสัมภาษณ์ครูสอนภาษาอังกฤษ จัดทำโดย
เรื่องราวทางสังคม (SOCIAL STORY)
ความฉลาดทางอารมณ์ ของตัวเรา. ความฉลาดทางอารมณ์ ของตัวเรา.
กิจวัตรและกิจกรรมในหนึ่งวันของเด็กๆ
วิธีการฝึกอบรม ลูกเสือสามัญ
บทบาทอาสาสมัครผู้สูงอายุ
การส่งเสริมพัฒนาการ เด็กวัยอนุบาล (3-6 ขวบ)
ความแตกต่างระหว่างบุคคล (ชุดที่ 2)
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
บทบาทสมมติ (Role Playing)
งานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค รพ.หาดใหญ่
ทักษะการใช้กิริยาท่าทางและบุคลิกการเป็นครู
BEST PRATICES การจัดการเรียนรู้ระดับปฐมวัยที่ดี “ อนุบาลน้อย
การพัฒนาคุณธรรมในศตวรรษที่ ๒๑
ธรรมชาติของเด็กวัยเรียน พัฒนาการเด็กวัยเรียน (อายุ 6-12 ปี)
เรื่อง การปฏิบัติตนในวัยรุ่น
แก้ปัญหาพฤติกรรมการขาดความรับผิดชอบในการส่งงานโดยใช้หลักไตรสิกขา
การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียน ทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และ พัฒนาตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมี ความสำคัญที่สุด ดังนั้นในการจัดการ เรียนรู้และการดูแลช่วยเหลือพัฒนาผู้เรียนที่
พัฒนาการเด็กปฐมวัย & โครงการพัฒนาIQ EQ เด็กแรกเกิด-5 ปี
วิธีสอนแบบสืบสวนสอบสวน
การสอนแบบสืบสวนสอบสวน
การประกวดแข่งขันผลงานวิจัย และนวัตกรรมสื่อสารสอนทางอาชีวศึกษา
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
อาจารย์บำเรอ ศรีสุขใส
กิจกรรมการสอนโดยใช้ “เพลง”
การปฏิบัติตัวของวัยรุ่น
วิธีการสอนโดยใช้เกม (Game)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางในการจัดกิจกรรมเสริมสร้าง IQ / EQ เด็ก วรวรรณ หนึ่งด่านจาก นักจิตวิทยาชำนาญการ ศูนย์สุขภาพจิตที่ ๕

แนวทางในการจัดกิจกรรมเสริมสร้าง IQ / EQ เด็ก เรียนรู้ผ่านประสบการณ์ สร้างประสบการณ์ให้เหมาะสมกับโอกาสแห่งการเรียนรู้ โอกาสแห่งการเรียนรู้มีความแตกต่างในแต่ละวัย

คุณลักษณะ IQ / EQ. ความฉลาดทางเชาว์ปัญญา (ไอคิว : IQ : Intelligence Quatient) ความช่างสังเกต สมาธิ ความสามารถในการสร้างภาพในใจ การถ่ายทอดจินตนาการ การตัดสินใจ

ความฉลาดทางอารมณ์ (อีคิว : ไอคิว : Emotional Quatient) การรับรู้อารมณ์และควบคุมอารมณ์ การเข้าใจและเห็นใจผู้อื่น เรียนรู้ระเบียบวินัย ความมุ่งมั่น มานะ อดทน การปรับตัวก่อปัญหา

ความฉลาดทางอารมณ์ (อีคิว : ไอคิว : Emotional Quatient) (ต่อ) กล้าแสดงออก มีความสุข ความพอใจ อบอุ่นใจ สนุกสนานร่าเริง

การสร้างประสบการณ์สำหรับเด็กวัย 2-5 ปี (ต่อ) 2 - 3 ปี เด็กดื้อ + ปฏิเสธ + ท้าทาย + เริ่มสนใจเพื่อนเด็กด้วยกัน กิจกรรม ส่งเสริมให้ช่วยตัวเอง ส่งเสริมการใช้ภาษา ส่งเสริมการพัฒนาการทางร่างกายและสติปัญญา

การสร้างประสบการณ์สำหรับเด็กวัย 2-5 ปี (ต่อ) 3 - 4 ปี สนใจด้านสังคม + อยากรู้อยากเห็น + เริ่มคิดคำนำ + เลียนแบบผู้ใหญ่ + ชอบทดลอง กิจกรรม ให้เด็กเล่นตามความต้องการ เปิดโอกาสให้เด็กเล่าเรื่อง เริ่มเรียนรู้ความรับผิดชอบ

การสร้างประสบการณ์สำหรับเด็กวัย 2-5 ปี (ต่อ) 4 - 5 ปี ชอบเล่นเพื่อนอายุเท่าๆ กัน + เล่นกลุ่มเล็กมากกว่ากลุ่มใหญ่ เลือกกิจกรรมและเตรียมอุปกรณ์ได้ด้วยตนเอง + มีอารมณ์ขัน หัวเราะง่าย + ว่องไว กิจกรรม เล่นเกมหาสมบัติ สามารถพูดคุยเล่าเรื่องที่สนใจ จักกิจวัตรประจำวันฝึกให้เป็นนิสัย

การบรูณาการกิจกรรมการเรียนรู้ สำหรับเด็ก อายุ 2-5 ปี 1. บูรณาการในการทำกิจวัตรประจำวัน 2. บูรณาการในกิจกรรมหลัก 6 กิจกรรม

บูรณาการในการทำกิจวัตรประจำวัน ฝึกหัดความจำ ให้มีการทบทวนบทเรียน การท่องจำบทเพลง การแก้ไขปัญหา ฝึกหัดโดยใช้สถานการณ์ความขัดแย้งขณะเล่น / ทำกิจกรรม

บูรณาการในการทำกิจวัตรประจำวัน (ต่อ) บูรณาการในการทำกิจวัตรประจำวัน (ต่อ) การถ่ายทอดจินตนาการ ฝึกโดยการเล่นบทบาทสมมุติ การเล่านิทาน ความช่างสังเกต ฝึกหัดโดยใช้สถานการณ์ความขัดแย้งขณะเล่น / ทำกิจกรรม

บูรณาการในการทำกิจวัตรประจำวัน (ต่อ) บูรณาการในการทำกิจวัตรประจำวัน (ต่อ) ประสานระหว่างมือตา ฝึกให้เด็กติดกระดุมเสื้อผ้าเอง ฝึกให้เด็กช่วยงานบ้านกรอกน้ำใส่ขวด การฝึกหัดให้รู้จักมารยากทางสังคม การไหว้ กล่าวทักทายสวัสดี ขอโทษ ขอบคุณ มารยาทในการรับประทานอาหาร มารยาทในห้องเรียน ขออนุญาตเมื่อจะเข้าห้องน้ำ หรือออกจากห้องเรียน

บูรณาการในการทำกิจวัตรประจำวัน (ต่อ) บูรณาการในการทำกิจวัตรประจำวัน (ต่อ) ฝึกหัดการมีระเบียบวินัย การเข้าแถว การทำกิจวัตรต่างๆ เป็นเวลา และตรงต่อเวลา ฝึกการเก็บของเล่นและของใช้เข้าที่ให้เรียบร้อย ฝึกหัดการกล้าพูดกล้าบอก ให้ยกมือเมื่อต้องการพูด

บูรณาการในการทำกิจวัตรประจำวัน (ต่อ) บูรณาการในการทำกิจวัตรประจำวัน (ต่อ) ฝึกหัดการรับผิดชอบ ให้เด็กรู้จักนำถาดอาหารไปเก็บเอง ฝึกหัดให้เด็กช่วยเหลือตนเองตามวัยได้ รู้จักเก็บรักษาข้าวของของตนเอง ไม่หยิบของผู้อื่น โดยไม่อนุญาต และรู้จักคืนให้เข้าของ ฝึกหัดควบคุมอารมณ์ ฝึกสวดมนต์ ทำสมาธิในช่วงสั้นๆ 1-5 นาที

บูรณาการในกิจกรรมหลัก กิจกรรมการเคลื่อนไหวและจังหวะ กิจกรรมสร้างสรรค์ กิจกรรมเสรี (เล่นตามมุม)

บูรณาการในกิจกรรมหลัก (ต่อ) บูรณาการในกิจกรรมหลัก (ต่อ) กิจกรรมเสริมประสบการณ์ชีวิต (กิจกรรมวงกลม) กิจกรรมกลางแจ้ง เกมการศึกษา

ข้อเสนอแนะและการแนะนำ ครูเลือกกิจกรรมจากง่าย ยากตามความสนใจของเด็กสลับไป มา เพื่อไม่ให้เกิดความเบื่อหน่าย ครูเลือกกิจกรรมให้เหมาะสมกับวัยและพัฒนาการเด็ก ระหว่างการจัดกิจกรรมควรเน้นความสนุกสนาน กระตุ้นการมีส่วนร่วม มีการเคลื่อนไหว ช่วยให้เกิดการเรียนรู้ ขณะทำกิจกรรมครูควรให้ความใกล้ชิด และคอยแก้ไขปัญหาเฉพาะให้กับเด็ก ครูควรถ่ายทอดกิจกรรมให้กับผู้ปกครองเด็กด้วย

สวัสดี