การขับเคลื่อนการดำเนินงาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงการวิจัยและพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยการจัดการความรู้
Advertisements

แนวทางประสานความ ร่วมมือ กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ กระทรวงศึกษาธิการ แนวทางประสานความ ร่วมมือ ระหว่าง กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ กระทรวงศึกษาธิการ พนม จันทร์ดิษฐ.
เกษตรกรรุ่นใหม่ และ Smart Farmer
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๕ ส่งเสริมและพัฒนาระบบสารสนเทศชุมชน
สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล
ระบบส่งเสริมการเกษตร
ระบบการปฏิบัติงานของสำนักงานเกษตรอำเภอ Smart Office
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บรรยายพิเศษ การดำเนินงาน กศน.ตำบล
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
สรุป ศูนย์สารสนเทศ แผนงาน/โครงการ
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
“ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ”
ที่โครงการงบประมา ณ ( บาท ) กลุ่มเป้าหม าย 5 โครงการส่งเสริมสวัสดิภาพเด็ก ปฐมวัยในชุมชน 21,000, เรื่อง 1 หลักสูตร มีทั้งสิ้น 7 โครงการ เป็นเงิน 148,655,200.
การพัฒนากลุ่มแม่บ้านเกษตรกร เป็นเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
วันที่ถ่ายทอด มีนาคม 2548 สถานที่ถ่ายทอด โรงแรมเทวราช อ.เมือง จ.น่าน
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
การบริหาร ยุทธศาสตร์บูรณา การการป้องกันและ แก้ไขปัญหาเอดส์ ระดับจังหวัด กลุ่มผู้ติดเชื้อ เอชไอวี
Good Governance :GG.
โครงการศูนย์บริการประชาชนเคลื่อนที่ในเขตปฏิรูปที่ดินจังหวัดกระบี่
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
การถ่ายทอดความรู้เรื่อง
กลุ่มที่ 1.
สมาชิกกลุ่มที่ 1 นางวันเพ็ญ มหาชัย อ.วังวิเศษ จ.ตรัง ประธาน
กลุ่ม 3 ผู้นำเสนอ นายปรีชา คงเกลี้ยง เกษตรอำเภอเมืองชลบุรี
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายวิชุล บุญสิม
ระบบส่งเสริมการเกษตร
รายงานการดำเนินงาน โครงการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรรายครัวเรือน ภายใต้โครงการเพิ่มศักยภาพผู้ว่างงาน ศูนย์สารสนเทศ.
ความเข้มแข็งให้ : ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน
ระบบส่งเสริมการเกษตร
โครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร
ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล
วิทยากร อ.นิภารัตน์ รัตโนภาส ผู้ช่วยวิทยากร นายปิยะพงศ์ เบาโพธิ์
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
กลุ่มข้าวเหนียว.
องค์ความรู้ในกระบวนการพัฒนา ระบบสำนักงานอิเล็กทรอนิกส์ (ระบบการลา)
จุดเน้น/กลยุทธ์ ในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2555
งานวิเทศสัมพันธ์ ผศ.ดร.นิศากร ประคองชาติ
แผนการดำเนินงาน 2558 กองบริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ระบบส่งเสริมการเกษตร
การขับเคลื่อนการ ดำเนินงาน สำนักงานเกษตร อำเภอ Smart Office ประจำปี 2558 Smart Office ประจำปี 2558.
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักงานอัยการสูงสุด
การใช้ MRCF เพื่อพัฒนาศูนย์ข้าวชุมชน ตำบลบางกะไห นางสาวยุวดี ฮวดวิเศษ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรปฏิบัติการ.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การใช้โปรแกรมบริการประชาชน
สรุปงานที่ ต้องทำต่อ ศูนย์เทคโนโลยีและการสื่อสาร กองแผนงาน กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริม การเกษตร.
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
การดำเนินงาน หมู่บ้านสารสนเทศต้นแบบ เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วย เคลื่อนที่เร็ว วัตถุประสงค์ เพื่อควบคุมสถานการณ์ ศัตรูพืชและลดปัญหาการระบาด ได้ทันต่อเหตุการณ์ เป้าหมาย ครอบคลุมพื้นที่การระบาด ศัตรูพืช 76 จังหวัด.
กิจกรรมพัฒนาตลาดและเครือข่ายการผลิต
สำนักสารนิเทศ กระทรวงสาธารณสุข
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การขับเคลื่อนการดำเนินงาน สำนักงานเกษตรอำเภอ Smart Office ประจำปี 2558

วัตถุประสงค์ เป้าหมาย เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการให้บริการเกษตรกรและประชาชนได้สะดวก รวดเร็ว ทันต่อเหตุการณ์ 2. เพื่อให้งานส่งเสริมการเกษตรเกิดประสิทธิผลครอบคลุมเป้าหมายได้ตรงประเด็นและยั่งยืน เป้าหมาย สำนักงานเกษตรอำเภอ 882 อำเภอ 77 จังหวัด

องค์ประกอบ Smart Office 4 มิติ

กิจกรรมการดำเนินงาน พัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เตรียมความพร้อมการดำเนินงาน สำนักงานเกษตรอำเภอ Smart Office ปี 2558 3. บริหารจัดการและสนับสนุนการดำเนินงานสำนักงานเกษตรอำเภอ Smart Office

สำนักงานเกษตรอำเภอ 882 อำเภอ แนวทางการดำเนินงาน สำนักงานเกษตรอำเภอ 882 อำเภอ อำเภอ 767 อำเภอ (เริ่ม ปี 2558) (ต่อเนื่องจากปี 2557) 20 อำเภอ 747 อำเภอ 1. พัฒนาการให้บริการ 2. เป็นพี่เลี้ยง ให้คำปรึกษา แนะนำ 3. ประชาสัมพันธ์ 4. ถอดองค์ความรู้เกษตรกร 5. รายงานผลการดำเนินงาน 1.ปรับปรุงอาคาร ตามแบบ ก หรือ ข (งบ 500,000) ข้อ 2-8 ดำเนินการเหมือน 747 อำเภอ 1. ปรับปรุงสถานที่ 2. จัดหาครุภัณฑ์ 7 รายการ 3. ติดตั้งระบบและเครือข่าย 4. จัดระบบการให้บริการ 5. ชี้แจงทำความเข้าใจ 6. ประชาสัมพันธ์ 7. ถอดองค์ความรู้เกษตรกร 8. รายงานผลการดำเนินงาน

ครุภัณฑ์และอุปกรณ์ 7 รายการ ครุภัณฑ์และอุปกรณ์ 7 รายการ 1. อุปกรณ์กระจายสัญญาณ 2. เดินสายสัญญาณ 3. จอภาพ 4. เครื่องอ่านบัตร 5. เครื่องอ่าน 6. กล้อง Web Camera 7. อุปกรณ์แยกสัญญาณ

สำนักงานเกษตรจังหวัด 1.ชี้แจงทำความเข้าใจเรื่อง Smart Office 2.ประชาสัมพันธ์ให้เกษตรกรมารับบริการ 3.สนับสนุนให้อำเภอสามารถให้บริการได้ 4.สนับสนุนการถอดองค์ความรู้เกษตรกร 5.เป็นพี่เลี้ยง ให้คำปรึกษา 6.รายงานผลการดำเนินงานตามลำดับชั้น

สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขต 1. เป็นแกนหลักสนับสนุนให้ทุกอำเภอสามารถขับเคลื่อน การดำเนินงาน Smart Office 2. สนับสนุนด้านวิชาการ 3. เป็นพี่เลี้ยง ช่วยเหลือ แก้ไขปัญหา 4. จัดสัมมนาและเป็นวิทยากรกระบวนการ 5. ชี้แจงสร้างความรู้ความเข้าใจเรื่อง Smart Office 6. ประชาสัมพันธ์ให้เกษตรกรมารับบริการ 7. ถอดบทเรียน Smart Office ที่เป็นต้นแบบที่ดี (Best Practice) 8. สนับสนุนการถอดองค์ความรู้เกษตรกรต้นแบบ 9. รายงานผลการดำเนินงานตามลำดับชั้น

OUTPUT OUTCOME รายงานผลการดำเนินงาน สำนักงานเกษตรอำเภอ Smart Office 2. รายงานการถอดองค์ความรู้เกษตรกรต้นแบบในพื้นที่ จำนวน 882 อำเภอ 3. รายงานรูปแบบในการพัฒนาสำนักงานเกษตรอำเภอ Smart Office ที่เป็นต้นแบบที่ดี (Best Practice) จำนวน 9 อำเภอ สำนักงานเกษตรอำเภอ Smart Office ให้บริการ ด้านการเกษตรแบบ (One Stop Service) แก่เกษตรกรได้อย่าง มีประสิทธิภาพ

1,018 ศูนย์

ประเด็นเน้นย้ำ ระบบการรายงาน ในปี 2558 พัฒนาและใช้ประโยชน์ข้อมูลจากระบบ help เพื่อเชื่อมโยงการทำงานในทุกระดับ โดยเน้นข้อมูลที่มีคุณภาพ รวมถึงเน้นการให้บริการของอำเภอในรูปแบบ Smart Office ให้นำ IT มาใช้ในการให้บริการที่สะดวกรวดเร็วแก่ผู้รับบริการ ขอความร่วมมือจังหวัดได้กำชับให้ทุกอำเภอ รายงานข้อมูลการให้บริการในระบบ help เพื่อให้เกิดประโยชน์ในการพัฒนาการให้บริการ

การเชื่อมโยงการทำงานกับศูนย์ดำรงธรรม

ทีมอำนวยการและทีมสนับสนุน

ทีมอำนวยการ นายไพรัช หวังดี นายสำราญ สาราบรรณ์ นายไกวัล กล้าแข็ง นายไพรัช หวังดี รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร ฝ่ายวิชาการ นายสำราญ สาราบรรณ์ ผู้อำนวยการกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร นายไกวัล กล้าแข็ง รักษาการผู้อำนวยการศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

ทีมสนับสนุน เขต 1 , 2 นายวิชัย บุญเย็น เขต 3 นางสุมาลี ชิณวงศ์ เขต 4 นายวิชัย บุญเย็น เขต 3 นางสุมาลี ชิณวงศ์ เขต 4 ว่าที่ ร.ต. นรินทร์ แขมพิมาย เขต 5 , 9 นางสาวอรวรรณ คงอภิรักษ์ เขต 6 นางภัคกัญญา โสมภีร์ เขต 7 นางสาวศิรินทิพย์ บุษราคัมวดี เขต 8 นางสาววิจิตรา มหาอุตม์

กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร ติดต่อผู้ประสานงาน กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร โทร. 02-9406054 โทรสาร 02-5793835 อีเมล์ : agritech80@hotmail.com LINE : Smart Office

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ติดต่อผู้ประสานงาน ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โทร./โทรสาร 02-9405739 , 02-9405740 อีเมล์ : ict20@hotmail.com LINE : Smart Office

ช่องทางติดต่อผ่าน LINE