แนวทางการพัฒนาเพื่อธำรงบันไดขั้นที่ 2 สู่ HAการสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) พฤศจิกายน 2557.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
ข้อควรพิจารณาในการปรับแผนยุทธศาสตร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ พ. ศ
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
โครงการ “เวทีพบปะ HR ระดับต้น”
Impressive SAR.
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
การบริหารผลสัมฤทธิ์ (Result Based Management-RBM)
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
6. การควบคุมให้ปฎิบัติตามกฎ ระเบียบ และ. มาตรฐานความ ประพฤติ การควบคุมให้ปฎิบัติตามกฎ ระเบียบ และ มาตรฐานความ ประพฤติ 7. การทำความเข้าใจซึ่งกันและกัน.
โครงการ พัฒนาศักยภาพสหกรณ์ แบบเบ็ดเสร็จตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
การจัดทำระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน ขององค์กรและบุคคล Performance Management System( PMS ) โดย สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดสมุทรสงคราม.
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
บทบาทเจ้าหน้าที่ในการจัดเวทีประชาคมและเสริมสร้างครอบครัวพัฒนา
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
การบริหารสู่ความเป็นเลิศ
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
โดย ดร. ประพนธ์ ผาสุขยืด สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
มาตรฐาน งานเทคนิคการแพทย์2551
การจัดการความรู้ด้านสุขภาพ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
องค์ประกอบของการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน
การออกแบบตัวชี้วัดที่ประสบความสำเร็จในการทำ E-Learning โดย เบคิม เฟทาจิ , เมย์ลินดา เฟทาจิ มหาวิทยาลัยยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมสมัย.
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
การธำรงรักษาระบบคุณภาพหลังการรับรอง
Service Profile สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล 27 สิงหาคม 2551
การประสานงานและการสื่อสาร วันที่ 27 เมษายน 2553 กลุ่มที่ 1 ผู้ส่งสาร
บันได 3 ขั้น ความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพ
การบริหารองค์ความรู้ ครั้งที่ 1/2552
ทีม นำ “ การนำที่มั่นคง และยั่งยืน ”. “ บางครั้ง การยอมถอยซักก้าว เราจะเห็นทะเลที่ใหญ่ และท้องฟ้าที่สดใสกว่าเดิม ”
การสื่อสารยุทธศาสตร์ปี 2558
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
รพ. สระใคร อ. สระใคร จ. หนองคาย
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การวางแผนยุทธศาสตร์.
การเรียนรู้ ผ่าน SERVICE PROFILE
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
การประชุมกลุ่มย่อยผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง สาขาการพยาบาลชุมชน
สรุปบทความเรื่อง แนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้วย Competency
คุณค่าคนทำงาน คือการทำงานให้มี คุณภาพ ตอบสนองความต้องการ ของผู้รับบริการทั้งภายนอกและ ภายในตามมาตรฐานวิชาชีพ เป้าหมายของการทำงาน คือ การ ให้บริการที่มี
หลักการเขียนโครงการ.
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
แนวคิดบันไดขั้นที่ 2 สู่ HA สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล
1 Quality Improvement Tract สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล ( องค์การมหาชน )
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
ทำไมต้องทำ HA ? เพราะทำให้เกิดระบบงานที่ดี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการพัฒนาเพื่อธำรงบันไดขั้นที่ 2 สู่ HAการสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) พฤศจิกายน 2557

I-1 การนำองค์กร ทีมนำซักซ้อมความเข้าใจกับผู้ปฏิบัติงานแต่ละหน่วย ถึงบทบาทของตนต่อการบรรลุวิสัยทัศน์ขององค์กร และการนำค่านิยมไปปฏิบัติในงานประจำของแต่ละ คน ทีมนำติดตามความก้าวหน้าของการพัฒนาอย่าง สม่ำเสมอทุกเดือน โดยครอบคลุมทั้งในระดับ หน่วยงาน, PCT,และระบบงาน ทีมนำกำหนดเป้าหมายความปลอดภัยของผู้ป่วยและ ติดตามการบรรลุเป้าหมายดังกล่าว ทีมนำใช้ Leadership walk round เพื่อรับรู้ปัญหาและ สร้างความเข้าใจกับผู้ปฏิบัติงานเกี่ยวกับคุณภาพและ ความปลอดภัยอย่างสม่ำเสมอทุกเดือน ทีมนำกำหนดจุดที่มุ่งเน้นให้มีการปฏิบัติและการ พัฒนาที่ชัดเจนและติดตามผล ทีมนำปรับปรุงหรือแสดงให้เห็นช่องทางการสื่อสาร กับบุคลากรที่มีประสิทธิภาพ

ทีมนำซักซ้อมความเข้าใจกับผู้ปฏิบัติงานแต่ละหน่วย ถึงบทบาทของตนต่อการบรรลุวิสัยทัศน์ขององค์กร และการนำค่านิยมไปปฏิบัติในงานประจำของแต่ละ คน ผู้นำเลือก key word ของวิสัยทัศน์ ที่เหมาะสมกับแต่ละ หน่วยงาน แล้วใช้คำถามว่าสมาชิกในแต่ละหน่วยงานมี บทบาทต่อการบรรลุความสำเร็จในประเด็นดังกล่าว อย่างไร ตัวอย่าง วิสัยทัศน์ “รพ.ที่ประชาชนไว้วางใจ” นำมาสู่ คำถามว่าแต่ละคนจะทำงานประจำในหน่วยงานของตน อย่างไรเพื่อให้ประชาชนไว้วางใจ ตั้งแต่ ER, ward, คน สวน, พนักงานเปล,ซักฟอก ฯลฯ ตัวอย่าง วิสัยทัศน์ “เป็นผู้นำการเสริมสร้างสุขภาพ โดย ชุมชนมีส่วนร่วม อย่างพอเพียงและยั่งยืน” การตั้งคำถาม กับทีมงานทางคลินิกอาจจะใช้ทุก key word ข้างต้น ขณะที่หน่วยงานสนับสนุนอาจจะเลือกบาง key word ที่ เหมาะสมมาใช้ หัวหน้าหน่วยงานอาจจะพูดคุยเรื่องนี้ในที่ประชุม ประจำเดือนบ่อยๆ จนนำมาสู่ความคิดใหม่ๆ แนวทาง ใหม่ๆ ในการทำงาน หรือโครงการใหม่ๆ แล้วนำมา แลกเปลี่ยนกันในที่ประชุมคณะกรรมการบริหารหรือเวที ผู้นำระดับสูง

ค่านิยมในที่นี้หมายถึงค่านิยมของ รพ. และค่านิยมของ HA/HPH ร่วมกัน ทีมนำซักซ้อมความเข้าใจกับผู้ปฏิบัติงานแต่ละหน่วย ถึงบทบาทของตนต่อการบรรลุวิสัยทัศน์ขององค์กร และการนำค่านิยมไปปฏิบัติในงานประจำของแต่ละ คน ค่านิยมในที่นี้หมายถึงค่านิยมของ รพ. และค่านิยมของ HA/HPH ร่วมกัน ผู้นำควรร่วมกันนำค่านิยมเหล่านั้นมาเขียนเป็นลักษณะ พฤติกรรมที่ DO & DON’T ให้ชัดๆ และสื่อสารให้ทุกคน รับทราบ เช่น ค่านิยม “ทำงานเป็นทีม” ผู้นำพิจารณาค่านิยมที่เหมาะสมสำหรับการสื่อกับ ทีมงานในแต่ละช่วงเวลา เพื่อปลุกใจหรือเพื่อปรับเปลี่ยน พฤติกรรมในการทำงานประจำวัน หรืออาจจะใช้ค่านิยม ใหม่ที่ไม่เป็นทางการนัก แต่เป็นที่ยอมรับของผู้คน เช่น “WE CAN” DO DON’T ปฏิบัติต่อเพื่อนร่วมงานด้วยแนวคิดลูกค้าภายใน รับรู้ความต้องการและตอบสนอง ไม่ใส่ใจว่าเพื่อนร่วมงานต้องการอะไร รับฟังความเห็นที่แตกต่าง และหาข้อสรุปร่วมกันเพื่อนำไปปฏิบัติ โต้เถียงเพื่อคงความคิดของตน ไม่มีใครยอมใคร

(2) ทีมนำติดตามความก้าวหน้าของการพัฒนาอย่าง สม่ำเสมอทุกเดือน โดยครอบคลุมทั้งในระดับ หน่วยงาน PCT และระบบงาน การติดตามทำให้เกิดการขับเคลื่อน ถ้าติดตามจนเป็น ปกติ จะไม่รู้สึกเครียด การติดตามอย่างสม่ำเสมอ ควรทำให้แต่ละหน่วยงาน แต่ละ PCT แต่ละระบบงาน ได้มีโอกาสนำเสนอผลงาน ความก้าวหน้าของตนอย่างน้อยไตรมาสละครั้ง เพื่อให้เกิดความยืดหยุ่น แต่ละหน่วยแต่ละเรื่องอาจจะ รายงานไม่เหมือนกัน (ขอเพียงให้ไปสรุปความก้าวหน้า มาเล่าสู่กันฟัง) สิ่งที่จะรายงานอาจจะเป็นไปได้ในรูปแบบ ใดรูปแบบหนึ่งต่อไปนี้ ความก้าวหน้าเทียบกับจุดตั้งต้น ความก้าวหน้าเทียบกับเป้าหมาย แผนที่จะทำในไตรมาสต่อไป (คือถ้ายังไม่ก้าวหน้าก็ขอให้คิดว่าจะทำอะไรต่อ ถ้าเป็นไปได้ควรใช้ control chart ในการนำเสนอข้อมูลผลลัพธ์ที่เปลี่ยนแปลงไป ทีมนำควรสร้างการเรียนรู้ในเวทีนำเสนอ เช่น ร่วมกันหาวิธีการเอาชนะอุปสรรค

PSG ข้างต้นคือรายการขั้นต่ำที่ทุก รพ.ควรปฏิบัติ อาจใช้ หลัก 3P มาช่วย (3) ทีมนำกำหนดเป้าหมายความปลอดภัยของผู้ป่วยและ ติดตามการบรรลุเป้าหมายดังกล่าว I 1 : Hand hygiene M 1.2 : Improve the safety of high-alert drug M 3 : Assuring medication accuracy at transition in care (Medication Reconciliation) M 9 : Blood safety P 1: Patients identification P 2.1 : Effective communication –SBAR P 2.3 : Communicating critical test results E 1 : Response to the deteriorating patient E 3 : Acute coronary syndrome E 4 : Maternal & neonatal morbidity PSG ข้างต้นคือรายการขั้นต่ำที่ทุก รพ.ควรปฏิบัติ อาจใช้ หลัก 3P มาช่วย Purpose: กำหนดเป้าหมายที่ชัดเจน กำหนดตัวชี้วัดที่มีความหมายและเป็นไปได้ Process: ศึกษาแนวทางและข้อมูลวิชาการที่ update, วิเคราะห์ gap ของการนำแนวทางนั้นไปปฏิบัติ, หาวิธีลด gap ด้วยความคิดสร้างสรรค์หรือใช้หลัก Visual Management Performance: วัดผลเมื่อเริ่มต้น และติดตามประเมินผลตามตัวชี้ที่กำหนดไว้