การตัดสินใจแบบกิ่งก้านสาขา (Decision tree) นิยมใช้เมื่อมีเหตุการณ์ตั้งแต่ 2 เหตุการณ์ขึ้นไปที่เกิดต่อเนื่องกัน หรือกรณีที่มีการตัดสินใจซึ่งมีความสัมพันธ์ต่อเนื่องกันโดยผู้ตัดสินใจมีทางเลือกหลายทาง แต่ไม่ทราบผลลัพธ์ของแต่ละทางเลือก การวิเคราะห์นำมาแสดงให้เห็นในรูปกิ่งก้านสาขาของต้นไม้ โดยเริ่มจากจุดที่ต้องตัดสินใจ ซึ่งกิ่งก้านจะใช้แทนทางเลือกต่างๆ
ขั้นตอนการวิเคราะห์แบบกิ่งก้านสาขา ระบุปัญหา ร่างโครงสร้างการวิเคราะห์แบบกิ่งก้านสาขา ระบุความน่าจะเป็นของแต่ละทางเลือก ประเมินผลตอบแทนที่คาดหวังของแต่ละทางเลือก วิเคราะห์ผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับ ด้วยการคำนวณย้อนหลังจากทางขวาสุดของกิ่งก้านมาทางซ้ายสุด
สัญลักษณ์ที่ใช้ สี่เหลี่ยม แสดงถึง จุดที่ต้องมีการตัดสินใจ สี่เหลี่ยม แสดงถึง จุดที่ต้องมีการตัดสินใจ เส้นตรง แสดงถึง ทางเลือกหรือสภาวการณ์ที่เกิดขึ้น วงกลม แสดงถึง จุดที่ระบุว่ามีสภาวการณ์ต่างๆเกิดขึ้น
หลังจุดตัดสินใจ จะเป็นทางเลือกต่างๆ ในขณะที่หลังเครื่องหมาย จะเป็นสภาวการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้น สภาวการณ์ที่ 1 สภาวการณ์ที่ 2 ทางเลือกที่ 1 ทางเลือกที่ 2 ทางเลือกที่ 3 ผลตอบแทน ในการเขียนแขนงการตัดสินใจ สร้างจากด้านซ้ายไปขวา ทางเลือกต้องมากกว่า 1ทาง สภาวการณ์ต้องเกิดอย่างน้อย 1 สภาวการณ์ ques
ทางเลือก/ความน่าจะเป็น ตัวอย่างการวิเคราะห์แบบกิ่งก้านสาขา สมมติว่า เทศบาลแห่งหนึ่งมีโครงการก่อสร้างตลาดแห่งใหม่เพื่อรองรับการขยายตัวของชุมชนขณะเศรษฐกิจเติบโต โดยเทศบาลให้มีการศึกษาความน่าจะเป็นรวมทั้งค่าใช่จ่ายในการก่อสร้างจากทางเลือก 3 ทาง คือ สร้างตลาดขนาดใหญ่ สร้างตลาดขนาดกลางและไม่ก่อสร้างตลาดเลย ปรากฏผลการศึกษาดังนี้ ทางเลือก/ความน่าจะเป็น ปัจจัยทางบวก (บาท) ปัจจัยทางลบ (บาท) ตลาดขนาดใหญ่ (B) 200,000 -180,000 ตลาดขนาดกลาง (M) 100,000 -20,000 ไม่ก่อสร้างตลาดเลย (N) ความน่าจะเป็น 0.05 ผลตอบแทน ans
200,000 (.5) ปัจจัย + (.5) ปัจจัย - สร้างขนาดใหญ่ -180,000 100,000 (.5) ปัจจัย + สร้างขนาดกลาง (.5) ปัจจัย - -20,000 (.5) ปัจจัย + ไม่สร้าง (.5) ปัจจัย - B = (200,000) (0.5) + (-180,000) (0.5) = 10,000 บาท M = (100,000) (0.5) + (-20,000) (0.5) = 40,000 บาท N = 0(0) + 0(0) = 0 บาท จากการวิเคราะห์แบบกิ่งก้านสาขาซึ่งคำนวณภายใต้หลักการของความน่าจะเป็น สรุปได้ว่า เทศบาลควรสร้างตลาดขนาดกลาง EX ques
Joe’s garage is considering hiring another mechanic Joe’s garage is considering hiring another mechanic. The mechanic would cost them an additional $50,000 / year in salary and benefits. If there are a lot of accidents in the province this year, they anticipate making an additional $70,000 in net revenue. If there are not a lot of accidents, they could lose $20,000 off of last year’s total net revenues. Because of all the ice on the roads, Joe thinks that there will be a 70% chance of “a lot of accidents” and a 30% chance of “fewer accidents”. Assume if he doesn’t expand he will have the same revenue as last year. Draw a decision tree for Joe and tell him what he should do.
Therefore you should not hire the mechanic 70% chance of an increase in accidents Profit = $70,000 .7 Hire new mechanic Cost = $50,000 30% chance of a decrease in accidents Profit = - $20,000 .3 Don’t hire new mechanic Cost = $0 Estimated value of “Hire Mechanic” = NPV =.7(70,000) + .3(- $20,000) - $50,000 = - $7,000 Therefore you should not hire the mechanic
แบบฝึกหัดในห้องเก็บคะแนน ร้านสำราญเครื่องเขียนตั้งอยู่บริเวณย่านใจกลางเมืองแห่งหนึ่ง ซึ่งคุณสำราญเจ้าของร้านมีความเห็นว่าธุรกิจในบริเวณนี้อิ่มตัวแล้ว จึงพิจารณาจะย้ายร้านไปเปิดที่ศูนย์การค้าแห่งหนึ่ง จากการที่ร้านดำเนินงานมานานถึง 20 ปี จึงมีลูกค้าในละแวกนั้นพอสมควร ดังนั้นคุณสำราญคิดว่าถ้าย้ายร้านไปจะมีโอกาส 20% ที่ยอดขายของร้านจะลดลงไปเป็นจำนวน 20,000 บาท มีโอกาส 30% ที่ยอดขายจะคงเดิม และมีโอกาส 50% ที่ยอดขายจะเพิ่มขึ้นอีก 40,000 บาท อันเนื่องมาจากการโฆษณาและส่งเสริมการจำหน่ายของศูนย์การค้านั้น อย่างไรก็ตาม คุณสำราญได้ข่าวว่ามีการยื่นขออนุญาตสร้างโรงเรียนมัธยมในบริเวณใกล้ๆ ร้านปัจจุบัน ขณะนี้กำลังอยู่ระหว่างการขออนุมัติ ซึ่งคิดว่ามีโอกาส 70% ที่จะได้รับการอนุมัติ การมีโรงเรียนแห่งใหม่จะทำให้ยอดขายสูงขึ้นเดือนละ 30,000 บาท แต่ถ้าไม่อนุมัติให้สร้างโรงเรียน เขาคิดว่ายอดขายจะลดลงเดือนละ 10,000 บาท คุณสำราญถูกเร่งรัดให้แจ้งยืนยันความจำนงในการย้ายร้านไปเปิดที่ศูนย์การค้าโดยด่วน มิฉะนั้นทางศูนย์การค้าจะถือว่าสละสิทธิ์ จงสร้างแขนงการตัดสินใจเพื่อคุณสำราญตัดสินใจ
กลับไปอ่านใน file Type of Decision หัวข้อ การตัดสินใจภายใต้ความแน่นอน การตัดสินใจภายใต้ความเสี่ยง การตัดสินใจภายใต้ความไม่แน่นอน Quiz อาทิตย์หน้า