สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
ตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละความสำเร็จ ในการให้ความร่วมมือดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุนของกรมอนามัย.
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
ฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข ทพ.สุธาเจียรมณีโชติชัย ผอ.สำนักทันตสาธารณสุข
การดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพ ตำบลเขาซก อำเภอหนองใหญ่ ชลบุรี
สวัสดีครับ.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร
ทิศทางการบริหารงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
การจัดการความรู้ด้านสุขภาพ
ผลการดำเนินงาน ตค.50 – มค.51. รหัส ตัวชี้วัดเกณฑ์ผลการดำเนินงานจังหวัด เป้าหมาย(Y)ผลงาน (X)อัตร า (Z) 1001 ประชาชนที่มี หลักประกันสุขภาพ ได้รับบริการ.
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
ข้อเสนอแนะและปัจจัยแห่งความสำเร็จ
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
รอบที่ 2 ปีงบประมาณ สรุปตามมิติทาง ยุทธศาสตร์ การพัฒนาองค์กร ร้อยละ 22 ประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ ร้อยละ 15 คุณภาพการบริการ ร้อยละ 22 ประสิทธิผลตาม.
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดโรคและภัยสุขภาพ รอบ 5 เดือน ( ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2554 )
ทันตสาธารณสุข นำเสนอความสำเร็จตัวชี้วัด Functionปี 54
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ ข้อเสนอแนะในประเด็นสำคัญ เพิ่มเติม ดังนี้
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554 สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554

ตัวชี้วัด 1.5 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพบริการปฐมภูมิตามเกณฑ์เครือข่ายบริการปฐมภูมิ (PCA)ในระดับ 5

ปัญหาที่พบ จนท.สอ.บางแห่งไม่เข้าใจรายละเอียดเกณฑ์การประเมิน นำปัญหาที่ไม่ผ่านเกณฑ์มาพิจารณา วางแผนปรับปรุง น้อย

ตัวชี้วัด 1.6 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล มีการพัฒนาสถานีบริการตามเกณฑ์มาตรฐานระดับดีมาก

ปัญหาที่พบ ประเมินตามมาตรฐาน 98 กิจกรรม ยังไม่เรียบร้อย จนท.สอ.บางแห่งไม่เข้าใจรายละเอียดเกณฑ์การประเมิน นำปัญหาที่ไม่ผ่านเกณฑ์มาพิจารณา วางแผนปรับปรุง น้อย

ตัวชี้วัด 1.7 ระดับความสำเร็จในการจัดบริการการแพทย์แผนไทย การแพทย์ทางเลือกและแพทย์พื้นบ้านตามมาตรฐาน กระทรวงสาธารณสุข

ปัญหาที่พบ ข้อมูลทะเบียนยาหมอพื้นบ้านไม่เป็นปัจจุบัน มีแผนงานโครงการไม่ชัดเจน ขาดการจัดบริการ นวด อบ ประคบ

ตัวชี้วัด 2.1 ร้อยละความครอบคลุมของผู้มีสิทธิในระบบหลักประกันสุขภาพ

ปัญหาที่พบ แบบคำขอกรอกข้อมูลไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ จัดเก็บเอกสารไม่เป็นระบบ ขาดทะเบียนคุมความครอบคลุมเป็นรายเดือน

ตัวชี้วัด 2.2 ระดับความสัมฤทธิ์ผลของการดำเนินงานตามสิทธิประโยชน์

ปัญหาที่พบ ขาดการวิเคราะห์สภาพการณ์ดำเนินงาน ขาดการสำรวจและสรุปผลความรู้และสิทธิประโยชน์บริการสุขภาพ ขาดทะเบียนเผยแพร่ประชาสัมพันธ์

ตัวชี้วัด 3.1 ระดับความสำเร็จของกระบวนการกำกับดูแลมาตรฐานผลิตภัณฑ์สุขภาพแบบมีส่วนร่วม

ปัญหาที่พบ ทะเบียนร้าน/แผง ไม่เป็นปัจจุบัน มีเฉพาะภาพรวมอำเภอ ขาดสรุปผลการตรวจ SI2 ขาดการดำเนินงานตามแผนงาน/โครงการ

ตัวชี้วัด 4.1 หน่วยบริการผ่านเกณฑ์มาตรฐานสุขศึกษาระดับดี 1= พอใช้ 2 = ดี 3 = ดีมาก

ปัญหาที่พบ ไม่ได้นำผลการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานงานสุขศึกษามาวางแผนพัฒนา การขาดวางแผน/โครงการในการดำเนินงานที่ชัดเจน

ตัวชี้วัด 4.3 ร้อยละของประชากรกลุ่มเสี่ยงสูงป่วยเป็นโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ไม่เกิน ร้อยละ5

ปัญหาที่พบ เป้าหมายกลุ่มเสี่ยงปี 53 ยังไม่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ไม่ได้รับแจ้งผู้ป่วยรายใหม่ ขาดการประเมินผลตามช่วงเวลาที่กำหนด

ตัวชี้วัด 4.4 หน่วยบริการสาธารณสุขมีระดับความสำเร็จของการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก เพื่อป้องกันทารกแรกเกิดน้ำหนักต่ำกว่า 2,500 กรัม ในระดับ 3

ปัญหาที่พบ ขาดการจัดทำเวทีประชาคม และนำข้อมูลแม่และเด็กเข้าที่ประชุมภาคเครือข่าย ขาดมาตรการทางสังคม

ตัวชี้วัด 4.5 หน่วยบริการมีระดับความสัมฤทธิ์ผลในการดำเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพมีคุณภาพได้มาตรฐาน ในระดับ 3

ปัญหาที่พบ ผู้บริหารให้ความสำคัญน้อย โรงเรียนไม่ผ่านระดับทอง ขาดแผนพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่าย ขาดการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระดับตำบล

ตัวชี้วัด 4.6 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปากในหญิงมีครรภ์และเด็กเล็ก

ตัวชี้วัด 4.7 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปากในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

ตัวชี้วัด 4.9 หน่วยงานผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัดของโรคติดต่อที่เป็นปัญหาสำคัญ ร้อยละ80

ปัญหาที่พบ ขาดการประเมินตนเองตามมาตรฐาน ตัวชี้วัด ขาดเอกสารหลักฐานการดำเนินงานตามแผนงาน เช่นหลักฐานการสอบสวนโรค สรุปค่า HI ขาดการประสานงานการแจ้ง Case ผู้ป่วยวัณโรค ทำให้พื้นที่ไม่ทราบ

ตัวชี้วัด 4.11 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร

ปัญหาที่พบ ขาดการวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาด้านอาหารปลอดภัย ระดับตำบล แผนงานด้านอาหารปลอดภัยไม่ชัดเจน

ตัวชี้วัด 5.1ร้อยละชุมชนที่มีระบบการจัดการสุขภาพผ่านเกณฑ์ชุมชนดีสุขภาพดีแบบพอเพียง

ปัญหาที่พบ ขาดการประเมินชุมชน/หมู่บ้าน ตามแบบประเมินหมู่บ้านจัดการสุขภาพ 7 ประเด็น ขาดการเก็บรวบรวมเอกสารดำเนินงานตามเกณฑ์

ตัวชี้วัด 6.1 หน่วยงานมีระดับความสำเร็จในการจัดทำระบบการควบคุมภายใน

ปัญหาที่พบ ขาดการจัดทำแบบติดตาม ปย.3

ตัวชี้วัด 6.2 หน่วยงานมีระดับความสำเร็จของระบบการจัดการข้อร้องเรียน/ข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็น/คำชมเชยของส่วนราชการ และเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารราชการ

ตัวชี้วัด 6.3 หน่วยงานมีระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริต

ตัวชี้วัด 7.1 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาระบบบริหารยุทธศาสตร์สุขภาพตำบล

ปัญหาที่พบ มีการถ่ายทอดตัวชี้วัดตามยุทธศาสตร์และค่าน้ำหนักคะแนนลงสู่เจ้าหน้าที่แต่ยังไม่ชัดเจน บางแห่งไม่มีแผนงานโครงการรองรับยุทธศาสตร์

ตัวชี้วัด 8.1 ระดับความสำเร็จของหน่วยงานผ่านเกณฑ์มาตรฐานการจัดการสารสนเทศสุขภาพ

ปัญหาที่พบ ขาดการสืบค้นข้อมูลผู้มารับบริการ โครงสร้างไฟล์ข้อมูลไม่สมบูรณ์

ตัวชี้วัด 9.1 ระดับความสำเร็จของการประเมินสมรรถนะและการพัฒนาที่พึงประสงค์ของบุคลากรสาธารณสุข

ปัญหาที่พบ ความเข้าใจในการประเมินสมรรถนะยังไม่ตรงกัน ทำให้ ความเข้าใจในการประเมินสมรรถนะยังไม่ตรงกัน ทำให้ - มีการใช้แบบประเมินไม่เหมือนกัน - การวิเคราะห์ข้อมูลในฟอร์ม 2 ไม่ชัดเจน ยังขาดความเข้าใจในการจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล

ตัวชี้วัด 9.2ระดับความสำเร็จการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA)

ปัญหาที่พบ ขาดการจัดทำเอกสารลักษณะสำคัญขององค์กร

ตัวชี้วัด 9.3ระดับความสำเร็จการจัดการความรู้เพื่อสนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร์ (วิชาการ/วิจัย/นวัตกรรม)

ปัญหาที่พบ ขาดการกำหนดความรู้ที่จำเป็นในการพัฒนาในหน่วยงาน ขาดการรวบรวมองค์ความรู้เป็นเอกสารและเผยแพร่ทาง web

สรุปผลคะแนนถ่วงน้ำหนักผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ คิดเป็นร้อยละ ประจำปี 2554

ผลการประเมินยุทธศาสตร์รอบที่ 1 ปี 2554 ระดับดีเด่น (80-100) ระดับดีมาก (70-79) ระดับดี (60-69)

สวัสดี