ครึ่งทางของโครงการสืบสานฯ หลักการ พระราชปณิธานสมเด็จย่า พระราชทาน เมื่อทรงก่อตั้งมูลนิธิถันยรักษ์ พ.ศ.2537 “ให้ช่วยผู้หญิงไทยพ้นภัยมะเร็งเต้านม ไม่ว่าเขาจะยาก ดีมีจน ” หน้าที่ คนดีมีอันจะกิน ช่วยตนเองได้ เป้าหมาย หญิงไทยที่ยากจน โอกาสด้านเทคโนโลยีแทบไม่มีหวัง โชคดีที่กระทรวงสาธารณสุขแนะนำให้ พึ่งตนเองก่อนพึ่งเทคโนโลยี
พันธกิจ พื้นที่ 21 จังหวัด 4 จังหวัดใน 4 ภาค ทำทุกอำเภอ ได้แก่ เชียงราย นครราชสีมา จันทบุรี และสุราษฏร์ธานี อีก 17 จังหวัด จังหวัดละ 1 อำเภอ ประชากร ผู้หญิงอายุ 30 – 70 ปี จำนวน 2.1 ล้านคน ลงทะเบียน 1.98 ล้านคน วัตถุประสงค์ พัฒนาระบบต้านภัยมะเร็งเต้านมโดยส่งเสริม การตรวจเต้านมตนเอง Breast Self Examination (BSE ) สนับสนุนโดย อสม.ช.และยืนยันโดย จนท.สธ.ที่รพ.สต. พบก้อนสงสัยจึงใช้ Ultrasound และ Mammogram ผลที่คาด ติดตามผลต่อเนื่อง 5 ปี หวังว่าจะพบก้อนมะเร็งขนาด เล็กลง ระยะที่พบเร็วขึ้นและอัตราตายจะลดลง
การประเมินผลเมื่อครึ่งทาง - พ.ศ การใช้ “สมุดบันทึกการตรวจเต้านมตนเอง” BSE อยู่ในระดับน่าพอใจ % มีความหวังที่ ผู้ที่ทำ BSE สม่ำเสมอจะมีโอกาสพบก้อนขนาดเล็ก - พ.ศ.2557 เริ่มใช้ Breast Ultrasound เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ BSE โดยเคลื่อนที่ไปยังจุดนัดหมายที่กลุ่มเป้าหมายทำ BSE แล้ว สงสัยพบก้อน เช่น ที่ รพช.หรือรพ.สต. เพื่อพิสูจน์ว่า ใช่ก้อนหรือไม่ หรือเป็น Cyst หรือเป็นก้อนที่ต้องติดตามต่อไป หรือต้องส่งต่อทันที การใช้ Ultrasound ใน 6 จังหวัด ทำบ้างไม่ทำบ้าง ที่ทำอย่างกว้างขวาง เป็นการเพิ่มโอกาสให้ผู้หญิงไทยที่ยากจนพ้นภัยมะเร็ง โดยการค้นพบระยะแรก (Early Detection) อย่างมีประสิทธิภาพ ธันวาคม การประเมินโครงการสืบสานฯ ทั้งระบบ โดยสถาบันวิทยาศาสตร์สาธารณสุข จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 5-6 ก.พ ประชุมใหญ่ประเมินผลการดำเนินงานเสนอ สธ.
ความคาดหวังของครึ่งทางที่เหลือ เป็นเรื่องน่าเบื่อที่ต้องคอยกระตุ้นกลุ่มเป้าหมายให้ทำ BSE ซ้ำซาก แต่เนื่องจากเรามาถูกทาง เห็นแสงสว่างอยู่ร่ำไร จะทิ้งไปก็เสียดาย เรากำลังสร้างความเสมอภาคให้เกิดขึ้นกับผู้หญิงไทย เรากำลังสร้างนวัตกรรมใหม่ให้ไทยและประเทศกำลังพัฒนา นวัตกรรมที่เริ่ม ทำให้เราตระหนักว่าเราต้องดูแลสุขภาพตนเอง ถ้าเราทำได้ แม้กระทั้ง “มะเร็ง” เราก็จะเอาชนะได้