งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โครงการสืบสานพระราชปณิธาน สมเด็จย่า ต้านภัยมะเร็งเต้านม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โครงการสืบสานพระราชปณิธาน สมเด็จย่า ต้านภัยมะเร็งเต้านม"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โครงการสืบสานพระราชปณิธาน สมเด็จย่า ต้านภัยมะเร็งเต้านม
โดย มูลนิธิถันยรักษ์ในพระราชูปถัมภ์ของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงมหาดไทย สภากาชาดไทย สปสช. และภาคเอกชน

2

3 มูลนิธิถันยรักษ์ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี

4 มูลนิธิถันยรักษ์ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี

5

6

7 Why Breast Cancer is spreading around the world?
สตรีประมาณ 1 ล้านรายที่เป็นมะเร็งเต้านม ในทุกปี จำนวนดังกล่าว เป็นผู้ป่วยใหม่ 5 แสนคน และจำนวนที่เหลือ คือผู้ที่เสียชีวิตในทุกๆปี ในปี 2534 สตรีอเมริกัน 1 ใน 10 ตายจากโรคมะเร็งเต้านม ในปี 2550 สตรีอเมริกัน 1 ใน 8 ตายจากมะเร็งเต้านม ในปี % ในประเทศกำลังพัฒนา 50% ของสตรีอเมริกัน ค้นพบการเป็นมะเร็งเต้านมระยะที่ 1 น้อยกว่า 10% ของสตรีในประเทศกำลังพัฒนา ค้นพบการเป็นมะเร็งเต้านมระยะที่ 1 Soon Time Magazine – ทำไม ? มะเร็งเต้านมจึงยังคงเป็นปัญหาของสตรีจำนวนมาก

8

9

10

11

12

13 ธรรมชาติของมะเร็งเต้านม
* 90% ตรวจพบก้อน -คลำก้อนได้ขนาดต้องใหญ่กว่า 1 ซม. ถ้าพบก้อน % เป็น มะเร็งเต้านม * 10% เป็นการเปลี่ยนแปลงของเต้านม ผิวหนัง บุ๋ม หรือ นูน หัวนมบุ๋ม ถ้าพบเลือดออกจากหัวนม 15 % เป็นมะเร็ง มะเร็งเต้านมมีความรุนแรงเพราะ 80 % เป็นมะเร็งท่อน้ำนม (Invasive Ductal Carcinoma) อันตราย เพราะก้อนไม่เจ็บ – ไว้ค่อยพบหมอ หรือ หมอบอกว่า มีก้อนแต่ ขอทำธุระก่อน เลย เอวัง

14 วิธีการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม VBE : Volunteer Breast Exam.
การตรวจเต้านมด้วยตนเอง Breast self examination: BSE การตรวจยืนยันโดยเจ้าหน้าที่ผู้เชี่ยวชาญ Clinical breast examination: CBE การใช้เครื่องมือ Ultrasound Mammography Analog Digital MRI ประเทศไทย มี VBE : Volunteer Breast Exam.

15 เรื่องราวเกี่ยวกับ Mammogram
ความแตกต่าง - Analog เก็บเป็นแผ่นฟิล์ม (film) - Digital เก็บเป็น file เชื่อมโยงข้อมูลได้ การใช้ - คัดกรอง Screening Mammogram - วินิจฉัย Diagnostic Mammogram ข้อดี ถ้ามีก้อน Mammogram จะตรวจพบได้ 85 % ข้อจำกัด ใช้ได้ดีในสตรีอายุ > 40 ปี U.S. แนะให้คัดกรองทุก 2 ปี ข้อควรระวัง 1 ใน 3 ของมะเร็งในคนตะวันออกอายุน้อยกว่า 40 ปี

16 การตรวจเต้านมด้วยตนเอง
10 กว่าปีก่อน ประเทศไทยดำเนินการโดยกรมอนามัยและมูลนิธิถันยรักษ์ ด้วยหวังว่าจะพบก้อน หรือ การเปลี่ยนแปลงเต้านมได้เร็วขึ้น ช่วยสตรีไทยให้ปลอดภัยจากมะเร็งเต้านม ได้มากขึ้น 10 กว่าปีผ่านไป ไม่มีความหวังอะไรเลย พ.ศ BSE ไม่ได้รับการบรรจุอยู่ในตัวชี้วัดการตรวจราชการ สธ. และทำไปก็ไม่ได้เงินจาก สปสช. เริ่มมีหน่วยคัดกรอง (Mobile mammogram) เป็นเครื่องมือเชิงธุรกิจ ติดต่อหน่วยงานต่าง ๆ รับทำ Mammogram โดยไม่รับประกันคุณภาพ ทำให้คนไทยรู้จักมะเร็งเต้านมควบคู่ไปกับMammogram

17 อันตรายของการคัดกรองโดย
SCREENING MAMMOGRAM FALSE NEGATIVE RESULTS 20% มีก้อน บอกว่าไม่มีเลยนึกว่าไม่เป็นไร ช้าไปเมื่อพบแพทย์ 2. FALSE POSITIVE RESULTS ไม่มีก้อน บอกว่ามี รู้สึกกังวล เลยต้องค้นหา ทำให้เสียเวลา เสียเงิน 3. RADIATION EXPOSURE ได้รับรังสีโดยไม่จำเป็น

18 สถานการณ์ BSE ทั่วโลก หลักฐานของประสิทธิภาพแตกต่างกันมาก
Russia & China - no beneficial effects ให้พยาบาลสอนBSE สาวโรงงาน 2 กลุ่ม ๆ ละสองแสนคน U.S. National Cancer Institute recommend High quality screening mammogram with CBE แต่สตรีอเมริกันส่วนใหญ่ตรวจเต้านมด้วยตนเอง U.S. มี mam. หกหมื่นเครื่อง ตรวจได้ 75%ของเป้าหมาย U.K. – same as U.S. Canada – อัตราตายลดลงในกลุ่มที่ทำ BSE คุณภาพ การตรวจร่างกายพบ ได้ 20 % ของคนเป็นมะเร็งเต้านม

19 สถานการณ์ BSE ประเทศไทย
* จากรายงานการตรวจเต้านมด้วยตนเองส่วนใหญ่60-80% จากการตรวจสอบ BSE ที่มีคุณภาพ % * ความมุ่งหวังครั้งนี้การตรวจเต้านมด้วยตนเองที่มีคุณภาพ (ถูกต้องและสม่ำเสมอ)มากกว่า 80 %ในพื้นที่ควบคุมได้ ที่ผ่านมา BSE ไม่มีการควบคุมคุณภาพ จึงดูเหมือนไม่มีประสิทธิภาพ แต่ ถ้าประเทศไทย สามารถทำให้ BSE มีคุณภาพ อาจเป็นแรงบันดาลใจให้ * สตรีไทยตรวจเต้านมด้วยตนเองมากขึ้น และคุณภาพดีขึ้น * สตรีประเทศกำลังพัฒนาอื่นๆ มีทางเลือกมากขึ้น

20 โครงการสืบสานพระราชปณิธานสมเด็จย่า
ต้านภัยมะเร็งเต้านม เป้าหมาย สตรีไทยอายุ ปี ตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างมี คุณภาพมากกว่า 80 %ในพื้นที่ควบคุมได้ วิธีการ 1. ให้ความรู้สตรีเพื่อทำ BSE คุณภาพ และบันทึกลงสมุดบันทึกการตรวจเต้านมด้วยตนเอง 2 . อบรม อสม.ชช. เป็นผู้ติดตาม ยืนยันและบันทึกลงสมุดบันทึก 3. รับรองโดย จนท.ที่ รพสต. และ บันทึกลงในโปรแกรม 4. จนท.ผู้ชำนาญระดับอำเภอ รับรองและวิเคราะห์ข้อมูล 5. ใช้ Ultrasound ที่ รพช. แยกว่ามีก้อน? เป็นซีส? ขอบเรียบ หรือขรุขระ ? และเชื่อมโยงข้อมูลกับศูนย์ถันยรักษ์ 6. ใช้ DIGITAL MAMMOGRAM ที่ รพศ. เป็นลำดับแรก ตาม ด้วยรพท. พร้อมทั้งเชื่อมโยงข้อมูลกับศูนย์ถันยรักษ์ 7. กำหนดพื้นที่ในการติดตามเป็นจังหวัดและอำเภอ

21 การกำหนดพื้นที่เพื่อการติดตาม ตามเขตตรวจราชการ
การกำหนดพื้นที่เพื่อการติดตาม ตามเขตตรวจราชการ เขต จังหวัด 1 อยุธยา 7 พังงา 13 อุบลราชธานี 2 ลพบุรี 8 สงขลา 14 นครราชสีมา* 3 นครนายก 9 จันทบุรี * 15 เชียงใหม่ 4 ราชบุรี 10 หนองบัวลำภู 16 เชียงราย* 5 สมุทรสงคราม 11 สกลนคร 17 พิษณุโลก 6 สุราษฎร์ธานี* 12 ร้อยเอ็ด 18 นครสวรรค์ * จังหวัดที่ดำเนินการเต็มพื้นที่ กิจกรรมสำคัญ – จังหวัดมีการแต่งตั้งคณะกรรมการอำนวยการระดับจังหวัด โดยมีผู้ว่าราชการเป็นประธาน นายกเหล่ากาชาดเป็นรองประธาน นายแพทย์สสจ. เป็น ก.ก.และเลขานุการ และมี คณะกก. จากหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อดำเนินการ

22 การประเมินผลและความคาดหวัง
การประเมินผลโดยเปรียบเทียบผลการดำเนินงาน ก่อนและหลังโครงการ 2. ความคาดหวัง 2.1 ระดับอำเภอ - BSE คุณภาพมากกว่า 80% ใน 2 ปี 2.2 ระดับจังหวัด - BSE > 80 % ทุกอำเภอ ใน 3 ปี 2.3 ขนาดของก้อน และ ระยะของโรค(Staging) เมื่อแรกพบลดลงใน 5 ปี 2.4 อัตราตาย (M.R.) ลดลงใน 10 ปี 2.5 สตรีอายุ ปี ทั่วประเทศ ทำ BSE คุณภาพ

23 ขั้นตอนการดำเนินงาน การกำหนดพื้นที่ และข้อมูลขั้นต้น มีค.-พค.2555
การกำหนดพื้นที่ และข้อมูลขั้นต้น มีค.-พค.2555 การประชุมระดับผู้บริหาร พค.2555 (Soft Opening) อ.ปากช่อง จ. นครราชสีมา 3. การสนับสนุนสื่อ มิย.2555 การอบรม อสม.ชช.และเจ้าหน้าที่ โดยจังหวัด มิย.-ก.ย.2555 การอบรมพยาบาล/แพทย์ โดยศูนย์ถันยรักษ์ การเตรียมความพร้อมของพื้นที่ ก.ย. 2555 7. การรณรงค์โครงการทุกพื้นที่ ต.ค. 2555 (Grand Opening)

24 การติดตามระยะยาว Long Term Follow up
ทุกเดือน –การทำ BSE ถูกต้องและสม่ำเสมอ ของกลุ่มเป้าหมายจากสมุดบันทึกการตรวจ เต้านมด้วยตนเอง - ความเอาใจใส่และยืนยัน BSE โดย อสม.ชช. จากสมุดบันทึก ทุก 3 เดือน - การรับรองผลการตรวจ ส่งต่อ ? การรับรอง โดย จนท.รพสต. บันทึกข้อมูลลงในโปรแกรม - การสรุปผลและวิเคราะห์ โดย จนท. รพสต.

25 ทุก 6 เดือน - รวบรวมและสรุปผลโดยจนท.
ระดับจังหวัดและ key ข้อมูล เพิ่มเติมเมื่อมีการส่งต่อหรือส่งกลับ ทุก 1 ปี รวบรวมและสรุปผลโครงการโดย กระทรวงสาธารณสุขและมูลนิธิ ถันยรักษ์ฯ ทุก 5 ปี เปรียบเทียบผลการดำเนินงาน ก่อนและหลังโครงการ พบก้อน ? ขนาด ? ระยะของโรค เมื่อเริ่มพบ ? ครบ 10 ปี - อัตราตาย ?

26 ระบบตรวจสอบและรับรอง
โดยศูนย์วิชาการเขต (กรมอนามัย โดย ศูนย์อนามัย กรมการแพทย์ โดยศูนย์มะเร็ง) 1. ฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ผู้เชี่ยวชาญและรับรองเป็น ผู้ตรวจสอบ โดยมูลนิธิถันยรักษ์ 2. ตรวจสอบและให้การรับรองระดับอำเภอโดย จังหวัดและศูนย์เขต 3. รับรองผลระดับจังหวัด โดยมูลนิธิถันยรักษ์ และกระทรวงสาธารณสุข

27 การสนับสนุนสู่ความสำเร็จ
1. สตรีอายุ ปี สมุดบันทึกฯทุกคน + DVD บางคน 2. อสม.ช./ผู้นำสตรี สมุดบันทึกฯ, DVD ,ภาพพลิก, โปสเตอร์ 3. จนท.รพสต DVD โปสเตอร์ หุ่นเต้านม รพสต. พี่เลี้ยง 4. จนท.ผู้เชี่ยวชาญ หุ่นเต้านม และสื่อทุกชนิด ระดับอำเภอ 5. แพทย์และTechnician ฝึกอบรม Ultrasound ที่รพช./รพท./รพศ. เชื่อมโยงข้อมูลกับ ศูนย์ถันยรักษ์ 6. แพทย์ &Technician ฝึกอบรม Digital Mammogram ที่รพศ./รพท เชื่อมโยงข้อมูลกับศูนย์ถันยรักษ์

28 แต่งานวิจัยไม่ใช่ความหวัง
ฝันหวานกับงานวิจัย การติดตามระยะยาว 10 ปี ในจำนวนประชากร 2,000,000 คน เป็นเรื่องยิ่งใหญ่ของการวิจัย แต่งานวิจัยไม่ใช่ความหวัง หากเป็นการรวมพลังที่มีประโยชน์ เพื่อสตรีไทย พ้นภัยมะเร็งเต้านมตามพระราชปณิธานสมเด็จย่า

29 การตรวจเต้านมด้วยตนเอง
B = Best S = Simple E = Effort

30

31

32 “ตั้งแต่วันที่สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีสวรรคต ในวันที่ 18 กรกฎาคม 2538 จนถึงวันถวายพระเพลิงพระบรมศพ 9-14 มีนาคม 2539 ชาวบ้าน ชาวกรุง ชาวเขา เด็ก ผู้ใหญ่ คนชรา ได้มาถวายสักการะพระบรมศพโดยไม่เว้นวัน ไม่ว่าแดดจะร้อนและฝนจะตกจนน้ำท่วม ข้าพเจ้าเห็นว่าไม่น่าจะให้พลังมหาศาลที่แสดงถึงความจงรักภักดี ความรักและความบริสุทธิ์ หมดไปจากแผ่นดินโดยไร้ประโยชน์ “ ส่งเสด็จสมเด็จย่า พระนิพนธ์ของสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์

33 “ เราก็เหมือนเด็กน้อย ๆในภาพ เมื่อสวดมนต์เราก็
ระลึกถึงพระเมตตาของสมเด็จย่า และความจงรักภักดีที่เรามีต่อพระองค์ ”

34 ถึงจากไป คนไทย ยังรักท่าน ช่วยสืบสาน ปณิธาน สมเด็จย่า
ถึงจากไป คนไทย ยังรักท่าน ช่วยสืบสาน ปณิธาน สมเด็จย่า ภัยมะเร็ง เต้านม สั่งสมมา หยุดยั้งได้ ด้วยศรัทธา ย่าของเรา วัลลภ ไทยเหนือ 28 พฤษภาคม 2555


ดาวน์โหลด ppt โครงการสืบสานพระราชปณิธาน สมเด็จย่า ต้านภัยมะเร็งเต้านม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google