นางสาวดลลดา สังฆสุวรรณ โรงเรียนสงวนหญิง จ.สุพรรณบุรี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
Advertisements

ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
ตัวอย่าง การปรับปรุงข้อสอบ วิชา LB105: Study Skills ภาคที่ 1 / 2545 ( ก่อนการปรับปรุงเป็นข้อ 78 หลังการปรับปรุงเป็นข้อ 20 )
Thesis รุ่น 1.
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
ผลิตสินค้าและบริการ.
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
โครงงาน ระบบงานที่สร้างสรรค์. ภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้ การออกแบบระบบงาน และพัฒนา งานจำเป็นต้องศึกษา รายละเอียดของงาน โดย ทำการศึกษางานเดิม เขียนผัง ระบบงานงานเดิม.
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการประกันภัย
ระบบเทคโนโลยี Technology System
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
การเตรียมเอกสาร สอบหัวข้อโครงงาน
การจำลองความคิด
งานวิจัยที่ดี.
คุยกันก่อนเรียน สัมมนาสัตวศาสตร์ ปีการศึกษา 2551.
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
การจัดการเรียนรู้โดยใช้ “เกม” (Game)
ในฐานะสื่อกลางของความคิด
การจัดกระทำข้อมูล.
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
บทที่ 3 การวิเคราะห์โครงสร้าง Structure Analysis
1. ตัวแปรต้น 2. ตัวแปรตาม 3. ตัวแปรควบคุม การกำหนดและควบคุมตัวแปร.
คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์
การแก้ปัญหาทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ท่านเกิดปัญหานี้หรือไม่
ที่ใช้ใน Object-Oriented Design
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
แบบฝึกคิดวิเคราะห์จากภาพ
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
การออกแบบโปรแกรม ขั้นตอนการแก้ปัญหา การนิยามปัญหา (Problem definition)
เรื่องหลักการแก้ปัญหา
2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer problem solving methods)
การปลูกพืชผักสวนครัว
บทที่ 6 การเปลี่ยนแปลงเข้าสู่การออกแบบระบบ การประเมินทางเลือกซอฟท์แวร์
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
กระบวนการวิจัย Process of Research
ปัญหาคืออะไร. การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ไขปัญหา รายวิชา การโปรแกรมและการประยุกต์ (ง30222)
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
หลักการแก้ปัญหา
หลักการแก้ปัญหา.
การกำหนดโจทย์วิจัย/ปัญหาการวิจัย (Research problem )
หน่วยที่ 4 หลักการแก้ปัญหากับภาษาคอมพิวเตอร์
การเขียนซูโดโค้ด และการเขียนโฟลชาร์ต
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
ความคิดรวบยอดสอนอย่างไร : การใช้คำถาม ประเภทของคำถาม
ทบทวนความรู้เดิม (Activate Prior Knowledge)
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
นางสาว ธันยพัต ภักดี วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการจรัลสนิทวงศ์
บทที่ 12 กระบวนการเรียนรู้ การเรียนรู้ หมายถึง กระบวนการที่ บุคคลจัดองค์การความรู้อันทำให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงอย่างถาวรในพฤติกรรมของเขา และจะสามารถนำใช้อีก.
ชื่อผลงานวิจัย กิจกรรมการเรียนการสอนวิชาการใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา เรื่อง การตกแต่งเอกสาร โดยวิธีการให้นักเรียนสร้างผลงานจากสถานการณ์จำลองที่กำหนดให้
ปัญหา : มีนักโทษ 13 คน มีเครื่องหมายประจำตัวตั้งแต่ A-M ถูกตัดสินประหารชีวิต แต่พอถึงเวลาประหาร มี 1 คนที่ได้รับการอภัยโทษเป็นกรณีพิเศษ โดยใช้วิธีขานเลข.
อาหารใน ชีวิตประจำวัน
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
การวางแผนการใช้สื่อ    การใช้สื่อการสอนต้องมีการวางแผน โดยในขั้นของการวางแผนคือ การ พิจารณาว่าจะเลือกใช้สื่อใด ในการเรียนการสอน ในการใช้สื่อใน การเรียนการสอนการวางแผนการใช้สื่อนับเป็นขั้นตอนแรก.
วิธีสอนแบบอุปนัย.
The ASSURE Model การใช้สื่อการสอนอย่างเป็นระบบ โดยใช้แบบจำลอง
ภาษาและเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู
7.Discussion การอภิปราย นายวัชรกร เดชะบุญ รหัสนิสิต
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
การนำเสนอสารด้วยวาจา
บทที่ 4 ข้อเสนอโครงการวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นางสาวดลลดา สังฆสุวรรณ โรงเรียนสงวนหญิง จ.สุพรรณบุรี หลักการแก้ปัญหา วัตถุประสงค์ 1.อธิบายขั้นตอนการแก้ปัญหาได้ 2.ถ่ายทอดความคิดเป็นรหัสลำลอง และผังงานได้ 3.แก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอน โดย นางสาวดลลดา สังฆสุวรรณ โรงเรียนสงวนหญิง จ.สุพรรณบุรี

ขั้นตอนแก้ปัญหา การแก้ปัญหา เป็นกิจกรรมพื้นฐานในการดำรงชีวิตของมนุษย์ ปัญหาบางอย่างสามารถหาคำตอบได้ทันที แต่บางปัญหาอาจต้องใช้เวลานาน ในการค้นหาคำตอบ และคำตอบที่ได้ จะต้องสามารถพิสูจน์ได้ว่าเป็นคำตอบที่ถูกต้อง น่าเชื่อถือ และนำไปอ้างอิงต่อได้

การแก้ปัญหาที่ดีนั้นจะต้องได้คำตอบที่ถูกต้องและใช้เวลาให้น้อยที่สุด ขั้นตอนแก้ปัญหา การแก้ปัญหาของแต่ละบุคคลมีขั้นตอนและใช้เวลาแตกต่างกัน ตามความรู้และประสบการณ์ของบุคคลนั้น การแก้ปัญหาที่ดีนั้นจะต้องได้คำตอบที่ถูกต้องและใช้เวลาให้น้อยที่สุด

ขั้นตอนแก้ปัญหา การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา การวางแผนในการแก้ปัญหา การดำเนินการแก้ปัญหา การตรวจสอบและปรับปรุง

ขั้นตอนแก้ปัญหา ขั้นตอนการแก้ปัญหานี้ นำเสนอโดยนักคณิตศาสตร์ ชื่อ จอร์จ โพลยา(George Polya) ตั้งแต่ พ.ศ. 2488 และยังคงเป็นขั้นตอนการแก้ปัญหาที่ใช้เป็นหลักปฏิบัติจนถึงปัจจุบัน

1.การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา ในการแก้ปัญหาใดๆนั้น สิ่งแรกที่ต้องทำคือ 1.1 ทำความเข้าใจกับปัญหา แยกให้ได้ว่า - สิ่งที่ต้องการคืออะไร และ - ข้อมูลที่กำหนดให้คืออะไร 1.2 พิจารณาว่า ข้อมูลและเงื่อนไขที่กำหนดนั้น เพียงพอที่จะหาคำตอบของปัญหาได้หรือไม่ ถ้าไม่เพียงพอต้องหาข้อมูลเพิ่ม

2.การวางแผนในการแก้ปัญหา โดยการเลือกใช้เครื่องมือ และวิธีการให้ได้มาซึ่งคำตอบ ประสบการณ์เดิมของผู้แก้ปัญหาจะมีส่วนช่วยอย่างมาก ประสบการณ์จะเป็นแนวทางในการแก้ปัญหา โดยปรับปรุงให้เหมาะสมกับปัญหาใหม่ หรือปรับปรุงให้ได้วิธีที่ดีขึ้น

ความหมายของสัญลักษณ์