โครงการเพิ่มศักยภาพการใช้มาตรการ เศรษฐศาสตร์เพื่อคงคุณค่าระบบนิเวศ และความหลากหลายทางชีวภาพ Enhancing the Economics of Biodiversity and Ecosystems.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผลประเมินสถานภาพและ ข้อเสนอมาตรการสร้างความเข้มแข็ง IBC ของประเทศไทย
Advertisements

ตัวอย่างที่ดีของโครงการความร่วมมือเพื่อส่งเสริมธรรมาภิบาล
Law on Natural Resource Management
ขั้นตอนการเสนอแบบประเมินและพิจารณาโครงการวิจัย
กรอบแนวคิดการพัฒนาทุนชุมชน
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
Green Village บ้านคลองกั่ว หมู่ 7 ต.เขาพระ อ.รัตภูมิ จ. สงขลา.
แนวทางการการดำเนินงานปี 2551
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ (Vision) ปี
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในการผลิตพืช
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
แผนยุทธศาสตร์กรมอนามัย พ.ศ
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
กลุ่มโภชนาการประยุกต์
การสัมมนา การจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี คณะเทคโนโลยีพ. ศ
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
การประชุมคณะกรรมการ และคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554
การจัดทำคำของบประมาณรายจ่าย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
ความก้าวหน้าของการจัดการ ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
ประเด็นที่ 1 ให้ทบทวนโยบายแนว ทางการดำเนินงานที่ ผ่านมา ของ ส. ป. ก. พร้อมทั้งวิเคราะห์ ปัญหาอุปสรรค และ แนวทางแก้ไข 1. กิจกรรมการจัดที่ดินและคุ้มครองพื้นที่
การจัดการที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย โดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น
ตัวอย่าง ตารางกรอบแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุ่มน้ำ แบบบูรณาการ
การประชุมผู้บริหารกรมทรัพยากรน้ำ ครั้งที่ 9/2549 ระเบียบวาระที่ 4.4 การจัดทำคำของบประมาณจาก กองทุนสิ่งแวดล้อมเพื่อการฟื้นฟู อนุรักษ์แหล่งน้ำ ธรรมชาติ การจัดทำข้อเสนอโครงการเพื่อ.
วาระที่ 3.5 การขอสนับสนุนงบประมาณ จากกองทุนสิ่งแวดล้อม
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “ โครงการพัฒนาศักยภาพและเพิ่มประสิทธิภาพบุคลากร สนับสนุนการติดตามประเมินผลการดำเนินงานของกรมทรัพยากรน้ำ ”
การจัดทำแผนปฏิบัติการ ศึกษาพัฒนาและผลิตสื่อ ทางประวัติศาสตร์ในชุมชน
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ทิศทางการพัฒนาวิทยาเขตขอนแก่น
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
โครงการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร (Enterprise Risk Management : ERM) สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
Dr. Louis Lebel มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ชูศักดิ์ วิทยาภัค คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โครงการบริหารการจัดการศัตรูพืชและการเขตกรรมเพื่อลดความเสี่ยงให้กับเกษตรกร สำนักพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตร.
การพัฒนาเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน ตามพระราชบัญญัติ ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
วิจัยเพื่อชุมชน : การประเมินและถ่ายทอดเทคโนโลยีเกษตรยั่งยืน
เกรียงเดช เจริญทรัพย์
โครงการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน
การพัฒนาระบบวิจัยของประเทศ และการจัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
โครงการในปีงบประมาณ 2558.
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
นโยบายการดำเนินงานที่สำคัญ ของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ในปีงบประมาณ พ.ศ.2558
การศึกษาวิจัย เรื่อง ผู้วิจัย นายอภิวิชญ์ ปีนัง
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
โครงการ : ส่งเสริมสุขภาพด้านอาหารและโภชนาการในภาวะภัยพิบัติ(อุทกภัย)
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 2 จังหวัดสระบุรี. แรงบันดาลใจ  การกระจายอำนาจให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามามี บทบาทในการให้บริการ สาธารณะ  ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการเพิ่มศักยภาพการใช้มาตรการ เศรษฐศาสตร์เพื่อคงคุณค่าระบบนิเวศ และความหลากหลายทางชีวภาพ Enhancing the Economics of Biodiversity and Ecosystems Services in Thailand / South-East Asia ECO-BEST ปิยะทิพย์ เอี๋ยวพานิช องค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศของเยอรมัน

พันธมิตรของโครงการ องค์กรร่วม สหภาพยุโรป (European Union) กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช รัฐบาลเยอรมัน ศูนย์วิจัยสิ่งแวดล้อมเฮล์มฮอลทซ์ (UFZ) ระยะเวลา มีนาคม 2554 – กุมภาพันธ์ 2558 (รวม 4 ปี)

เป้าหมายรวม ลดการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพเพื่อประโยชน์สุขของชุมชนท้องถิ่น วัตถุประสงค์ พัฒนากรอบนโยบายหรือเงื่อนไขทางกฎหมายในการนำเครื่องมือเศรษฐศาสตร์มาใช้ในพื้นที่อนุรักษ์และพื้นที่กันชน สนับสนุนการอนุรักษ์ในพื้นที่นำร่องโดยใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์เพื่อเป็นต้นแบบการบริการจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ พัฒนาศักยภาพบุคลากรและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ข้อมูลเกี่ยวกับการนำเครื่องมือเศรษฐศาสตร์มาใช้ในการอนุรักษ์ระบบนิเวศ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ นำผลการศึกษา เศรษฐศาสตร์ของระบบนิเวศและความหลากหลายทาง ชีวภาพ (TEEB) มาปรับใช้ในบริบทไทย และแลกเปลี่ยนเรียนรู้บทเรียนที่เกิดขึ้น มีข้อเสนอเพื่อปรับปรุงข้อกฎหมายและนโยบายเพื่อนำเครื่องมือทาง เศรษฐศาสตร์มาใช้ในประเทศไทย มีคู่มือประเมินมูลค่าเศรษฐศาสตร์แก่พื้นที่คุ้มครอง เพื่อใช้กำหนดเครื่องมือ ทางเศรษฐศาสตร์ นำร่องการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์อย่างเป็นรูปธรรม จัดให้มีสถานที่ฝึกอบรมเพื่อสร้างความตระหนักและพัฒนาเครือข่าย โดยการ พัฒนาศูนย์อบรมและเวทีอื่นๆ ในภูมิภาค ให้เกิดแหล่งทุนสนับสนุนการดำเนินการด้านต่างๆ เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องให้ความสำคัญ กับเครื่องมือเศรษฐศาสตร์

โครงสร้างการบริหาร ECO-BEST

“Shortlisted” sites

เศรษฐศาสตร์ระบบนิเวศและความ หลากหลายทางชีวภาพ The Economics of Ecosystems and Biodiversity (TEEB)

คุณค่าระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพ 4 มิติ การเป็นแหล่งเสบียง (Provisioning services) เช่น อาหาร ไม้ ของป่า น้ำ สมุนไพร การควบคุมกลไกของระบบ (Regulating Services) เข่น ร่มเงา ฟอกอากาศ กันภัยพิบัติ กรองน้ำ ยึดเกาะดิน ผสมเกสร กำจัดศัตรูพืช การเป็นที่อยู่อาศัยและหลบภัยของสิ่งมีชีวิต (Habitat or Supporting Services) เข่น ถิ่นอาศัย ที่หาอาหารของสิ่งมีชีวิต แหล่งเพาะพันธุ์ แหล่งพันธุกรรม ด้านสังคมและวัฒนธรรม (Cultural and social Services) เช่น การท่องเที่ยว การสร้างผลงานทางศิลปะ

รูปแบบและแนวคิดของ TEEB คุณค่าที่ได้รับการยอมรับ (Recognizing value) a feature of all human societies and communities คุณค่าที่พิสูจน์ได้ Demonstrating value: in economic terms, to support decision making คุณค่าที่ประเมินค่าได้ Capturing value: introduce mechanisms that incorporate the values of ecosystems into decision making Especially for cultural services, Usually for regulating services Easiest for provisioning services, but possible for some regulating services in some circumstances. 9

ขั้นตอนที่เสนอโดย TEEB 1. ระบุชี้และประเมินบริการที่ได้รับจากระบบนิเวศและกลุ่มคนที่เกี่ยวข้องในทุกด้าน 3. กำหนดมูลค่าของบริการระบบนิเวศ แล้วค้นหากลไกที่เป็นคำตอบ 2. ประมาณการและแสดงผลถึงคุณประโยชน์ของบริการจากระบบนิเวศต่างๆ

ขอบคุณ