ดร.สมพร หวานเสร็จ ผู้อำนวยการเชี่ยวชาญ โรงเรียนพิบูลประชาสรรค์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผู้บริหารในฝัน.
Advertisements

พญ.มณฑา ไชยะวัฒน ศูนย์อนามัยที่4 ราชบุรี
หอผู้ป่วยจิตเวช 2 ยินดีนำเสนอ.
หน่วยเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
แนวคิดการจัดการเรียนรู้ และมาตรฐาน งานการวัดและประเมินผล ในสถานศึกษา
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
เพื่อรับการประเมินภายนอก
ห้องเรียนแห่งการเปลี่ยนแปลง
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
ทีมนิเทศงานจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร
สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้รับผิดชอบ การจัดการรายบุคคลในโรงพยาบาล (Case Manager และ Case Management Unit)
กรอบความคิดในการกำหนดยุทธศาสตร์ และแผนงาน ปีงบประมาณ 2550
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
ชุมชน สังคม ภาคใต้บน ชาติ นานาชาติ
บทบาทของชุมชนต่อโรงเรียน
การวิเคราะห์ปัญหาวัยรุ่นและการช่วยเหลือ
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การประเมินเพื่อประกาศเกียรติคุณ
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
นโยบายการพัฒนาเด็กปฐมวัย
การส่งเสริมสุขภาพเด็กไทยวันนี้
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
วันที่ถ่ายทอด มีนาคม 2548 สถานที่ถ่ายทอด โรงแรมเทวราช อ.เมือง จ.น่าน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
1. ชื่อผลงาน: ส่งเสริมการเข้าถึงบริการอย่างเป็นมิตร
กลุ่มที่ 5 : บุคคลที่มีการเรียนรู้ผิดปกติ
รายงานการฝึกอบรมโครงการ “ผู้นำเยาวชนคนพิการ พลิกฟื้นชุมชน สู่การพัฒนา”
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
ที่มาของโครงการ ตลอดเวลา 21 ปีที่ผ่านมาทีมงาน " รัก ลูก " ได้ดำเนินงานด้านการให้ความรู้ในเรื่อง ของครอบครัวผ่านสื่อและกิจกรรมในรูปแบบ ต่างๆ แต่ด้วยที่การดำเนินงานส่วนใหญ่ยัง.
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
การพัฒนาศักยภาพบุลากร ด้านการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย วันที่ กันยายน 2552 ณ ห้องประชุมคณาพันธ์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ.
ตามยุทธศาสตร์การพัฒนายกระดับผลสัมฤทธิ์
แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
การพัฒนางานวิกฤตสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2558
IFSP แผนการให้บริการช่วยเหลือเฉพาะครอบครัว
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร “ การนิเทศการศึกษา ” สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร 11 – 13 มีนาคม 2552 ณ สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร
เล่าสู่กันฟัง ดร.รังสรรค์ มณีเล็ก
แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคล Individualized Education Program (IEP)
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
การพัฒนาระบบบริการทุติยภูมิและปฐมภูมิ
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
พัฒนาการเด็กปฐมวัย & โครงการพัฒนาIQ EQ เด็กแรกเกิด-5 ปี
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
SAR2011 ข้อ III 4.3 ฉ : การฟื้นฟูสภาพ
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
ดร.สมพร หวานเสร็จ ผู้อำนวยการเชี่ยวชาญ โรงเรียนพิบูลประชาสรรค์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ดร.สมพร หวานเสร็จ ผู้อำนวยการเชี่ยวชาญ โรงเรียนพิบูลประชาสรรค์ การให้ความช่วยเหลือระยะแรกเริ่ม สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษและ การบริการช่วยเหลือเฉพาะครอบครัว ดร.สมพร หวานเสร็จ ผู้อำนวยการเชี่ยวชาญ โรงเรียนพิบูลประชาสรรค์

พัฒนาการของเด็กปฐมวัยแรกเกิด – 5 ปี พ.ศ. 2542, 2547, 2550 ที่มา : นันทา อ่วมกุล และคณะ 17 กันยายน 2551 พัฒนาการของเด็กปฐมวัยแรกเกิด – 5 ปี พ.ศ. 2542, 2547, 2550 พ.ศ. ร้อยละ * ประเมินโดยเครื่องมือ Denver II Child Health Situation Analysis : Are we serving the need? 2

โรคภูมิแพ้ โรคติดเชื้อ 43% ที่อยู่ใน รพ 1. ระบบทางเดินหายใจ หอบหืด 12% โรคติดเชื้อ 43% ที่อยู่ใน รพ 1. ระบบทางเดินหายใจ 2. ไข้เลือดออก โรคภูมิแพ้ หอบหืด 12% แพ้อากาศ 21% ภูมิแพ้ผิวหนัง 9.6% ปัญหาสายตา 6.2 – 8.7% Conductive loss 3.9 – 6.1% otitis media impact cerumen ฟันผุ 57% DMFT 1.55 ซี่/คน แปรงฟันที่ ร.ร.ลดลง, ได้รับ บริการเคลือบร่องฟันต่ำมาก เด็ก กทม.ฯ 6.6% ขาดเรียนเพราะปวดฟัน เฉลี่ย 4.7 วัน ลัดดา เหมาะสุวรรณ และคณะ

การจัดการศึกษาสำหรับเด็กพิการให้ประสบผลสำเร็จ คนรอบข้างมีความเชื่อว่าเด็กมีความสามารถ ไร้ขอบเขตและทำให้เด็กเชื่อว่าตนเองมีความสามารถอย่างไร้ขอบเขตเหมือนกัน

การให้ความช่วยเหลือระยะแรกเริ่ม การให้ความช่วยเหลือระยะแรกเริ่ม คือ การพัฒนาศักยภาพตั้งแต่แรกเกิดหรือแรกพบความพิการผ่านกระบวนการที่หลากหลายเพื่อให้ผู้เรียนสามารถช่วยเหลือตนเองได้ และดำเนินชีวิตอยู่ในสังคม เป็นภาระแก่ผู้อื่นน้อยที่สุด โดยสนับสนุนสื่อ สิ่งอำนวยความสะดวก ปรับสภาพแวดล้อม ที่ลดอุปสรรคทั้งภายในและภายนอกศูนย์ฯ และสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสอดคล้องกับเป้าหมายในแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล

กิจกรรมการช่วยเหลือระยะแรกเริ่ม เป้าหมาย ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม ทักษะชีวิต กิจกรรม กิจวัตรประจำวัน เรียน นันทนาการ 6

กิจกรรมการช่วยเหลือระยะแรกเริ่ม การทำความสะอาดตนเอง การรับประทานอาหาร การแต่งกาย การดูแลตนเองเบื้องต้น กิจวัตรประจำวัน การเดินทาง การซื้อของ การทำงานบ้าน การประกอบอาหาร การเตรียมกิจกรรม การดำเนินชีวิตอย่างอิสระ การสื่อสาร ความเข้าใจและการใช้ภาษา 2. เรียน สังคม การเล่นและการสร้างปฏิสัมพันธ์ ร่างกาย การเคลื่อนไหว การทรงตัว การใช้มือ การพักผ่อน การนอน การเล่น 3. นันทนาการ การพัฒนาสุนทรียภาพ กิจกรรมยามว่าง งานอดิเรก

กิจกรรมการช่วยเหลือระยะแรกเริ่ม ผู้เรียน หมอ ครู พ่อแม่

การช่วยเหลือระยะแรกเริ่ม หลักการ ผู้เรียนทุกคนต้องได้รับการจัดการศึกษาอย่างเท่าเทียมตามกฎหมาย ผู้เรียนทุกคนสามารถเรียนรู้และได้รับประโยชน์จากการศึกษา ศูนย์ฯต้องปรับเปลี่ยน...ตามความต้องการจำเป็นของผู้เรียนมากกว่าให้ผู้เรียนปรับตามสภาพของศูนย์ฯ ผู้เรียนทุกคนเรียนรู้ได้โดยผ่านหลักสูตรที่เหมาะสม

การช่วยเหลือระยะแรกเริ่มที่มีประสิทธิภาพ ครูมีองค์ความรู้ ในด้านการวิเคราะห์ผู้เรียน จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามความแตกต่าง การวัดประเมินผลตามสภาพจริง เชื่อมต่อสายสัมพันธ์ระหว่างบ้านกับศูนย์ฯ การเตรียมความพร้อมของผู้เรียนพิเศษ ด้านทักษะการดำเนินชีวิตในสังคม เตรียมความพร้อมผู้เรียนและบุคลากร ก่อนการเรียนร่วม ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้เรียน และจัดหาสื่อ สิ่งอำนวยความสะดวก ที่จำเป็นในแผนการ จัดการศึกษาเฉพาะบุคคล

ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการช่วยเหลือระยะแรกเริ่ม ปัจจัยสนับสนุนความสำเร็จ สัมพันธภาพระหว่างบ้านกับศูนย์ฯ ความร่วมมือของครูการศึกษาพิเศษ ครูทั่วไปและนักการศึกษา สร้างแผนการจัดการศึกษาที่สอดคล้อง กับผู้เรียนและสามารถปฏิบัติได้ การสื่อสารทั้งการพูดและการเขียนของทีมงาน ความสามารถในการวางแผนที่ดีของทีมงาน การฝึกอบรมและพัฒนาตนเองของบุคลากร Your site here Company Logo