ไบโอม (biomes) ว ชีววิทยาพื้นฐาน คุณครูฉัตรสุดา สุยะลา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จัดทำโดย 1.ด.ช.พนาดร เขื่อนแก้ว ม.2/5 เลขที่ 6
Advertisements

ลักษณะภูมิศาสตร์ภาคใต้
วัฏจักรของสารในระบบนิเวศ
ลักษณะภูมิประเทศของทวีปยุโรป
กำแพงเมืองจีน (ที่มา :
สภาพแวดล้อมทางกายภาพของโลก
ลักษณะของระบบนิเวศ Succession /Development ecosystem
แบบทดสอบ รูปทรงสัณฐานของโลกลักษณะใดทำให้โลกมิได้มีทรงกลมเหมือนลูกปิงปอง ก แกนของโลก เอียง ข มีผิวขรุขระคล้ายผลส้ม ค ขั้วโลกทั้งสองยุบตัวลงเล็กน้อย ง มีพื้นน้ำมากกว่าผิวพื้นดิน.
บทที่ 2 เรื่อง ลมฟ้าอากาศ
ภาวะโลกร้อน [ Global Warming ]
อาหารหยาบ หญ้าแห้ง.
รายงานเรื่อง ภาคเหนือ
เรื่อง จังหวัดสระบุรี เด็กชายอลังการ ตลุ่มทอง เลขที่ 18
สรุป เนื่องจากดูเหมือนว่าสิ่งแวดล้อมเป็นตัวกำหนดลักษณะการกระจายของพืชพรรณ ดังนั้นถ้าบริเวณใดมีการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมเหมือนที่เกิดขึ้นตามเส้นรุ้ง ก็น่าจะมีลักษณะของพืชพรรณเหมือนกันด้วย.
ลักษณะภูมิอากาศของทวีปแอฟริกา
ลักษณะภูมิอากาศของทวีปยุโรป
ภูมิประเทศภูมิภาคต่างๆ ของทวีปเอเชีย
บทที่ 3 ทรัพยากรดิน.
“ไม่มีสิ่งมีชีวิตชนิดใด ที่สามารถอยู่ได้ตามลำพัง”
น้ำและมหาสมุทร.
ระบบนิเวศ (ECOSYSTEM)
วิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโลก
คุณครูโชคชัย บุตรครุธ
ทวีปแอฟริกา เด็กชายวุฒิชัย เพชรฤทธิ์ เลขที่ 2 ม.3.
บทที่ 2 สภาพแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อการค้าระหว่างประเทศ
ลมและความชื้น By Arjan Ukrit Chaimongkon Demonstration School
การเลี้ยงปลากะพงขาว.
สังคมศึกษา จัดทำโดย ชื่อ ด.ช. พีรวัส เกิดสมนึก เลขที่11 นำเสนอ
ความเชื่อมโยงวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมกับการจัดการเทคโนโลยี การใช้ทรัพยากร อย่างยั่งยืน การผลิต เข้าใจพื้นฐาน สิ่งแวดล้อม ปราศจาก มลภาวะและการสูญเสีย.
ส่วนที่ใช้ประโยชน์หลัก – ผล เพื่อการบริโภค
สถานที่ท่องเที่ยวอำเภอ สามร้อยยอด
ความรู้พื้นฐานด้านทรัพยากรน้ำ
ประเภทของป่าไม้ ป่าไม้ในประเทศไทยมี 2 ประเภท คือ 1. ป่าดงดิบหรือป่าไม้ที่ไม่ผลัดใบ 2. ป่าผลัดใบ ซึ่งแต่ละประเภทแบ่งย่อยออกไปเป็นชนิดต่าง ๆ ได้อีก.
ลักษณะภูมิอากาศของทวีปยุโรป
ลักษณะภูมิอากาศในทวีปยุโรป
สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ
ภูมิศาสตร์ของทวีปยุโรป
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
สภาพทางเศรษฐกิจ ใน ยุโรป.
เรื่อง ทรัพยากรธรรมชาติในทวีปยุโรป
ลักษณะทางภูมิประเทศและภูมิอากาศของทวีปยุโรป
สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ
นางสาวเยียรมัย เพ็งสวัสดิ์
จังหวัดสตูล โดย นางสาวทิพากร เหร็บค่วนเคี่ยม
ตราด.
Biomes of the World.
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม ชมเชยที่ 4
10.3 ชนิดของอุทกภัย (1.) แบ่งตามสาเหตุการเกิด
El Nino ดั้งเดิมเป็นคำที่ชาวประมงเปรูใช้ เรียกปีที่มีการจับปลาในทะเลได้เป็นจำนวน มากกว่าปีอื่น ๆ แต่พื้นที่บกบริเวณด้าน ตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิคเกิดภาวะแห้ง.
ปัญหาสิ่งแวดล้อม.
Biomes of the World.
ภูมิอากาศแบบกึ่งอาร์กติก
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ข้อมูลทั่วไป ที่ตั้ง อินโดนีเซียเป็นประเทศหมู่เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก ประกอบด้วย เกาะต่าง ๆ ประมาณ 17,508 เกาะ ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
ดินเปรี้ยว ดินเปรี้ยว หรือดินกรด (Acid soil) หมายถึง ดินที่มีค่า pH วัดได้ต่ำกว่า 7.0 ดังนั้น ดินเปรี้ยวจัด (Acid sulfate soil) จึงเป็นดินเปรี้ยวหรือดินกรดชนิดหนึ่ง.
โดย 2.น.ส.ญานิดา พูนสวัสดิ์ ม.6/5 เลขที่ 33
อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
ส่วนพยากรณ์อากาศ ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ กรมอุตุนิยมวิทยา
สถานที่ท่องเที่ยวหน้า หนาว จัดทำโดย เด็กหญิง ชุติกาญจน์ ยี่บุญ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/12 เลขที่ 1 เสนอ คุณครูอรอุมา พงศ์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัด.
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย
น้ำ.
ให้นักเรียนดูภาพแผนที่ต่อไปนี้ แล้วช่วยบอกด้วยว่าเป็นแผนที่ชนิดใด
เด็กหญิง อนัญญา สุ ทะพรหมพิงค์ เลขที่ 38 ชั้นมัธยมปีที่ 2/12.
ลักษณะภูมิอากาศของทวีปเอเชีย จัดทำโดย เด็กหญิง นภัสสร ประสิงห์ เลขที่ 17 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/7 เสนอ คุณครูอรอุมา พงษ์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร.
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส43102
บทที่ 21 ระบบนิเวศ.
ระบบนิเวศ.
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ไบโอม (biomes) ว 30103 ชีววิทยาพื้นฐาน คุณครูฉัตรสุดา สุยะลา ว 30103 ชีววิทยาพื้นฐาน คุณครูฉัตรสุดา สุยะลา โรงเรียนพิบูลมังสาหาร องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี 14 5 2554

ไบโอม ไบโอม (biomes) 14 5 2554

 ไบโอม (biomes) ไบโอม หรือ ชีวนิเวศ เป็นระบบนิเวศที่มี องค์ประกอบของ ไบโอม หรือ ชีวนิเวศ เป็นระบบนิเวศที่มี องค์ประกอบของ ปัจจัยทางกายภาพ เช่น อุณหภูมิ ความชื้น แสงสว่าง  ปัจจัยทางชีวภาพ เช่น พืชและสัตว์ที่คล้ายคลึงกัน กระจัดกระจายอยู่ในเขตภูมิศาสตร์ต่างๆ กัน 14 5 2554

ไบโอมบนบก (terrestrial biomes) 2. ไบโอมในน้ำ (aquatic biomes)  ประเภทของไบโอม ไบโอมบนบก (terrestrial biomes) 2. ไบโอมในน้ำ (aquatic biomes) 14 5 2554

 1. ไบโอมบนบก 1.2 ป่าผลัดใบในเขตอบอุ่น 1.3 ป่าสน  1. ไบโอมบนบก ใช้เกณฑ์ปริมาณน้ำฝนและอุณหภูมิเป็นตัวกำหนด 1.1 ป่าดิบชื้น 1.2 ป่าผลัดใบในเขตอบอุ่น 1.3 ป่าสน 1.4 ทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น 1.5 สะวันนา 1.6 ทะเลทราย 1.7 ทุนดรา 14 5 2554

ไบโอมบนบก (terrestrial biomes) 14 5 2554

ป่าดิบชื้น tropical rain forest 14 5 2554

ป่าดิบชื้น tropical rain forest เป็นป่าใกล้เส้นศูนย์สูตรของโลกในทวีปอเมริกากลาง ทวีปอเมริกาใต้ ทวีปแอฟริกา ทวีปเอเชียตอนใต้ หมู่เกาะแปซิฟิก ภูมิอากาศร้อนและชื้น มีฝนตกตลอดปี ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย 200-400 cm./ปี มีความอุดมสมบูรณ์สูงมาก พืช - สัตว์นับพันสปีชีส์ พืชเด่น : ไม้เถา หวาย เฟิร์น กล้วยไม้ ตัวอย่างในไทย ป่าฮาลา – บาลา นราธิวาส 14 5 2554

ป่าผลัดใบในเขตอบอุ่น (temperate deciduous forest) 14 5 2554

ป่าผลัดใบในเขตอบอุ่น (temperate deciduous forest) เป็นป่าในเขตละติจูดกลาง มีอากาศค่อนข้างเย็น ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย 100 cm./ปี ต้นไม้มีการผลัดใบ พืชเด่น : ยูคาลิปตัส เมเปิล โอ๊ก ตัวอย่างในไทย ทุ่งแสลงหลวง พิษณุโลก 14 5 2554

ป่าสน (coniferous forest) 14 5 2554

ป่าสน (coniferous forest) ป่าไทกา (Taiga) และป่าบอเรียล (Boreal) มีต้นไม้เขียวชอุ่มตลอดปี พบที่ตอนใต้แคนาดา ตอนเหนือทวีปอเมริกาเหนือ ทวีปเอเชีย และทวีปยุโรป เขตละติจูด 45 – 67 องศาเหนือ ภูมิอากาศมีฤดูหนาวยาวนาน อากาศเย็นและแห้ง พืชเด่น : สน เช่น ไพน์ (pine) เฟอ (fir) สพรูซ (spruce) เฮมลอค (hemlock) บลูเบอรี ตัวอย่างในไทย ภูสอยดาว อุตรดิตถ์ 14 5 2554

ทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น (temperate grassland) 14 5 2554

ทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น (temperate grassland) ทุ่งหญ้าแพรี่ (prairie) ทวีปอเมริกาเหนือ ทุ่งหญ้าสเตปป์ (steppes) รัสเซีย ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย 25 – 50 cm./ปี เหมาะทำกสิกรรม และ ปศุสัตว์ พืชเด่น : ทานตะวัน ไอริส ดอกไม้ป่ารานันคูลัส หญ้า 14 5 2554

สะวันนา (savanna) 14 5 2554

สะวันนา (savanna) เป็นทุ่งหญ้าในทวีปแอฟริกา ทวีปอเมริกาใต้ ทวีปออสเตรเลีย ตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปเอเชีย ภูมิอากาศร้อน มักมีไฟป่า พืชเด่น : หญ้าต่างๆ ตัวอย่างในไทย ป่าทุ่งใหญ่นเรศวร ตาก 14 5 2554

ทะเลทราย (desert) 14 5 2554

ทะเลทราย (desert) พื้นที่ที่มีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยน้อยกว่า 25 cm./ปี ทะเลทรายซาฮารา (Sahara) ในทวีปแอฟริกา ทะเลทรายโกบี (Gobi) ในจีน ทะเลทรายโมฮาวี (Mojave) ในรัฐแคริฟอร์เนีย U.S.A พืชเด่น : กระบองเพชร อินทผาลัม 14 5 2554

ทุนดรา (tundra) 14 5 2554

ทุนดรา (tundra) มีฤดูหนาวค่อนข้างยาวนาน ชั้นดินที่ต่ำจากผิวดินชั้นบนจับตัวเป็นน้ำแข็งอย่างถาวร พบทางตอนเหนือทวีปอเมริกาเหนือและยูเรเชีย พืชเด่น : ไม้ล้มลุกจำพวกไม้ดอก หญ้าต่างๆ แห้วทรงกระเทียม มอส ไลเคน 14 5 2554

2.1 แหล่งน้ำจืด 2.2 แหล่งน้ำเค็ม  2. ไบโอมในน้ำ 2.1 แหล่งน้ำจืด 2.2 แหล่งน้ำเค็ม 14 5 2554

ไบโอมในน้ำ (aquatic biomes) 14 5 2554

แหล่งน้ำจืด (freshwater biomes) 14 5 2554

แหล่งน้ำจืด (ต่อ) 14 5 2554

แหล่งน้ำจืด (freshwater biomes) มีเกลือน้อยกว่าร้อยละ 0.1 หรือน้อยกว่า 1 ppt ประกอบด้วย แหล่งน้ำนิ่ง : สระ หนอง บึง ทะเลสาบ แบ่งออกเป็น 3 บริเวณ : ชายฝั่ง (littoral zone) ผิวน้ำ (limnetic zone) และน้ำชั้นล่าง (profundal zone) แหล่งน้ำไหล : ธารน้ำไหล แม่น้ำ แบ่งออกเป็น 2 บริเวณ (Zone) : น้ำไหลเชี่ยว (rapid zone) และแอ่งน้ำ (pool zone) 14 5 2554

แหล่งน้ำเค็ม (marine biomes) 14 5 2554

แหล่งน้ำเค็ม (marine biomes) มีปริมาณมากถึงร้อยละ 71 ของพื้นที่ผิวโลก ( 3 ใน 4 ส่วน) มีความลึกเฉลี่ย 3,750 เมตร มีเกลือเฉลี่ยร้อยละ 3.5 หรือ 35 ppt ประกอบด้วย ทะเลสาบ ทะเล มหาสมุทร 14 5 2554

แหล่งน้ำเค็ม (ต่อ) 14 5 2554

แหล่งน้ำเค็ม (ต่อ) 14 5 2554

แหล่งน้ำเค็ม (ต่อ) 14 5 2554

แหล่งน้ำกร่อย (Estuaries) เป็นบริเวณรอยต่อระหว่างทะเลและแม่น้ำ ค่าความเค็มอยู่ในช่วงกว้างเนื่องจากกระแสน้ำขึ้นน้ำลง มีความอุดมสมบูรณ์ของธาตุอาหารสูง เนื่องจากแม่น้ำพัดพาเอาธาตุเหล็ก ซิลิกา ฟอสเฟต และสารอินทรีย์มายังปากแม่น้ำ พืชและสัตว์ที่อาศัยอยู่ในน้ำสามารถนำธาตุอาหารไปใช้ เพื่อการเจริญเติบโตได้ 14 5 2554

แหล่งน้ำกร่อย (Estuaries) 14 5 2554