การจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วัชพืชในแม่น้ำเจ้าพระยา ปัญหาตามฤดูกาลที่ต้องแก้
Advertisements

การจัดการของเสีย โดยวิธีทำให้เป็นก๊าซชีวภาพ
โดย วราภรณ์ ถาวรวงษ์ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ ศูนย์อนามัยที่๑.
หลักการจัดการขยะมูลฝอย ขยะติดเชื้อ และขยะอันตราย
โครงการธรรมชาติเกื้อกูล
ดิน(Soil).
สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต Environment Technology and Life
10วิธีลดภาวะโลกร้อน จัดทำโดย
ลดโลกร้อน ด้วยมือเรา.
โครงงานสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพบริเวณป่าชายเลนบ้านอำเภอ
การประชุม Mahidol Eco University (การบริหารจัดการขยะ) ครั้งที่ 5
การประชุม Mahidol Eco University (การบริหารจัดการขยะ) ครั้งที่ 7
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
ผักปลอดภัยจากสารพิษ นางสาววรรณิศา เลี่ยมดำ ภาคพัฒนาการเกษตร
Ecodesign นำเสนอ โดย นายนราวิชญ์ รุ่งเดช เลขที่ 25
ธนาคารขยะ (Waste Bank).
เทคโนโลยีระบบบำบัดน้ำเสียด้วยพืชกรองน้ำเสีย
การจัดการความรู้เพื่อพัฒนางาน
เป้าประสงค์ 1 เพื่อให้ภาคสาธารณสุข ตระหนักถึงปัญหา และ ร่วมมือในการลด GHG (green house gas) 2 ส่งเสริมให้ภาคสาธารณสุขแสดงจิตสาธารณะ ในการร่วมลดโลกร้อนด้วยการลดการปลดปล่อย.
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
โครงงานเปียงหลวงร่วมใจ ห่วงใยสิ่งแวดล้อม
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
รักษ์โลก กับวิศวกรรมเคมี ตอนที่ 1
ผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมจากสารมลพิษตกค้างยาวนาน POPs & HEALTH
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
โดย นางสาวสุพัสตรา เหล็กจาน สำนักงานประมงจังหวัดขอนแก่น
การล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล
ความก้าวหน้าของการจัดการ ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา
การเตรียมชุมชน ก่อนพ่นสารเคมี
เลือดออก ไข้ haemorrhagic fever โรคไข้เลือดออกคืออะไร
G Garbage.
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
ธนาคารมูลฝอย Recycle Waste and Garbage Bank
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
หยุดโลกร้อนด้วยชีวิตพอเพียง
ในภาวะน้ำท่วมและหลังน้ำลด
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
การป้องกันไฟไหม้สวนยางในฤดูแล้ง
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
นายสุพจน์ ไชยวรรณ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ ฟางข้าวกับยางพารา
ล้าง 3 ครั้ง ทุกหยดคุ้มค่า รักษาสิ่งแวดล้อม
การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย (พืชผัก)
1.ใช้ถ่านไฟฉายที่สามารถบรรจุไฟได้ใหม่
น้ำสกัดชีวภาพ BIOEXTRACT สารสารพัดประโยชน์ ครูไพฑูรย์ ศิริรักษ์
การกำจัดขยะโดยใช้หลัก 3R
โครงงานคุณธรรมธุรกิจ เรื่องน้ำหมักชีวภาพอเนกประสงค์ คณะผู้จัดทำ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม   โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม อำเภอท่าวังผา.
แนวทางการดำเนินงาน อนามัยสิ่งแวดล้อมในปี 2558
การลดปัญหาขยะในบริเวณโรงเรียนและการส่งเสริมการลดภาวะโลกร้อน จัดทำโดย นายปรีชา สลางสิงห์ นางสาวฐิติมา ขุมเงิน นางสาวกกมลทิพย์ วรโยธา โรงเรียนคำสร้อยพิทยาสรรค์
การสัมมนากลุ่มย่อย เรื่อง แนวทางและวิธีการลดต้นทุนการผลิตทางการเกษตร แนวทางการปฏิบัติงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ ภายใต้การสร้างต้นแบบการทำงานร่วมกัน.
กิจกรรมลดปริมาณขยะก่อนทิ้งในวิทยาลัย
สื่อการเรียนรู้เรื่อง หยุดโลกร้อนด้วยความพอเพียง
นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
มาตรฐานการสุขาภิบาลอาหาร สำหรับโรงอาหาร
การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก (เกษตรพอเพียง)
สถานที่ปรุง ประกอบ จำหน่ายอาหาร
โลกร้อน!!ครับ ภาวะโลกร้อน คือ การที่ อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกเพิ่มขึ้นจากภาวะเรือน กระจก หรือที่เรารู้จักกันดีในชื่อ ว่า Green house effect ซึ่งมีต้นเหตุจากการที่มนุษย์
COMMUNITY BASED SOLID WASTE MANAGEMENT
มารู้จัก “ขยะมูลฝอย” กันเถอะ
การใช้น้ำหมักชีวภาพ (Enzyme)
โดย ครูติดแผ่นดินลำไย เชียงราย
เกษตรอินทรีย์ชีวภาพบ้านตะโกสิงห์หมู่ 9 ตำบลอีสานเขต
ด. ช. อติชาต ปันเต ม.1/12 เลขที่ 4 ด. ช. ณปภัช เรือนมูล ม.1/12 เลขที่ 5.
โดย ครูติดแผ่นดินชา เชียงราย
ชุดตรวจปริมาณฟอร์มัลดีไฮด์ใน อาหารทะเล และ ชุดตรวจปริมาณเหล็กละลายน้ำ.
กระบวนการจัดการมูลฝอย การฝังกลบอย่างถูกหลักสุขาภิบาล
มลภาวะ (pollution).
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน อาคม หนูเหมือน นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สสจ.ตรัง

“What is it? อะไรกันนี่”

แล้วภาพนี้ล่ะ ?.................. Your Topic Goes Here Your subtopic goes here กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลควนโดน

แล้วกองนี้ล่ะ ?...............

มารู้จักขยะกันเถอะ

ขยะ คือ อะไร .........

ขยะ คือ....... ของเหลือทิ้งจากการใช้สอยในกิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจำวันและการทำงานทั้งที่เป็นของกินและของใช้

ใน 1 วัน เรา สร้างขยะอะไรกันบ้าง

ทราบไหมคะว่า “ขยะ” มีกี่ประเภท....

“ขยะ” มี 4 ประเภท 1. ขยะอินทรีย์ 2. ขยะรีไซเคิล 3. ขยะทั่วไป 4. ขยะอันตราย

ตัวอย่างของ “ขยะ” แต่ละประเภท....

1. ขยะอินทรีย์ ขยะที่ประกอบด้วยซากพืช ซากสัตว์ เศษอาหาร กิ่งไม้ หญ้าแห้ง สามารถย่อยสลายได้ และเป็นที่นิยมนำมาทำปุ๋ยหมัก

2. ขยะรีไซเคิล ขยะที่สามารถนำ เข้าสู่กระบวนการแปรรูปเพื่อผลิตของใช้ใหม่หรือนำมาขายได้

3. ขยะทั่วไป ขยะที่ไม่สามารถใช้ประโยชน์ใดๆได้อีก และต้องนำไปสู่ระบบการกำจัดทิ้งเพียงอย่างเดียว

4. ขยะอันตราย ขยะที่ก่อให้เกิดอันตรายต่อคนและสิ่งแวดล้อม

การเดินทางของ “ขยะ” แต่ละประเภท

การเดินทางของ “ขยะ” เศษผัก เศษอาหาร ซากสัตว์ ขยะอินทรีย์ ทำปุ๋ยหมัก/ น้ำหมักชีวภาพ/แก๊สชีวภาพ/อาหารสัตว์ ขยะอินทรีย์

แก้ว พลาสติก โลหะ กระดาษ ธนาคารขยะ /ขายร้านรับซื้อของเก่า/รถซาเล้ง การเดินทางของ “ขยะ” แก้ว พลาสติก โลหะ กระดาษ ขยะ รีไซเคิล ธนาคารขยะ /ขายร้านรับซื้อของเก่า/รถซาเล้ง

โฟม ถุงขนม เปลือกลูกอม ถุงพลาสติก การเดินทางของ “ขยะ” โฟม ถุงขนม เปลือกลูกอม ถุงพลาสติก กำจัดอย่าง ถูกวิธี ขยะทั่วไป

หลอดไฟ ถ่านไฟฉาย ขวดสารเคมี ผ้าพันแผล การเดินทางของ “ขยะ” หลอดไฟ ถ่านไฟฉาย ขวดสารเคมี ผ้าพันแผล กำจัดอย่าง ถูกวิธี ขยะอันตราย

“ขยะ” ในถังที่บ้านของเรา (ในอดีต) ขยะอันตราย 3% ขยะรีไซเคิล 42% ขยะทั่วไป 9% ขยะย่อยสลายได้ 46 %

“ขยะ” ในถังที่บ้านของเรา (ปัจจุบัน) ขยะรีไซเคิล 30% ขยะอันตราย 3% ขยะย่อยสลายได้ 64 % ขยะทั่วไป 3%

อายุของ“ขยะ”

อายุของ“ขยะ” กระดาษ 2 – 5 เดือน เปลือกส้ม 6 เดือน ถ้วยกระดาษเคลือบ ก้นบุหรี่ รองเท้าหนัง กระป๋องอลูมิเนียม ถุงพลาสติก ผ้าอ้อมเด็ก โฟม 2 – 5 เดือน 6 เดือน 5 ปี 12 ปี 25 - 40 ปี 80 – 100 ปี 450 ปี 500 ปี นานมากๆๆๆๆๆ

ผลกระทบของ“ขยะ”

ผลกระทบของ“ขยะ” 1. เกิดกลิ่นเหม็น 2. เกิดความสกปรก ไม่สวยงาม 3. เป็นแหล่งเพาะพันธุ์แมลงนำโรค 4. น้ำเสียจากกองขยะอาจไหลปนเปื้อน ไปสู่แหล่งน้ำ 5. การเผาขยะ เกิดมลพิษทางอากาศ

มาช่วยลด “ขยะ”กันเถอะ

3 วิธี ช่วยลด“ขยะ” 1. ใช้น้อย (Reduce) 2. ใช้ซ้ำ (Reuse) 3 วิธี ช่วยลด“ขยะ” 1. ใช้น้อย (Reduce) 2. ใช้ซ้ำ (Reuse) 3. นำกลับมาใช้ใหม่ (Recycle)

1. ใช้น้อย (Reduce) คือ การลดปริมาณการสร้างขยะหรือลดขยะ คือ การลดปริมาณการสร้างขยะหรือลดขยะ ที่แหล่งกำเนิด เพื่อป้องกันให้มีขยะเกิดขึ้น น้อยที่สุด เช่น - ใช้สินค้าชนิดเติม : ผงซักฟอก น้ำยาล้างจาน - ลดการใช้วัสดุที่ย่อยยาก : โฟม ถุงพลาสติก - ใช้สินค้าที่มีคุณภาพ : มีอายุยาวนาน - ใช้ภาชนะต่างๆ แทนถุงพลาสติก : ปิ่นโต ถุงผ้า ตะกร้า

2. ใช้ซ้ำ (Reuse) คือ การใช้วัสดุให้คุ้มค่าที่สุด เช่น คือ การใช้วัสดุให้คุ้มค่าที่สุด เช่น - ใช้ทั้ง ทั้ง 2 หน้า - นำ มาใช้ซ้ำ - นำสิ่งของมาดัดแปลง ให้ใช้ประโยชน์ได้ใหม่

จะช่วยลด ปริมาณขยะ ในชุมชน ได้อย่างไร

ตัวอย่างการนำขยะมูลฝอยไปใช้ประโยชน์

น้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหาร Your Topic Goes Here น้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหาร Your subtopic goes here

Your subtitle goes here ปุ๋ยหมักจากขยะอินทรีย์ Date Night Your subtitle goes here

Your subtitle goes here แก๊สชีวภาพขยะอินทรีย์ Date Night Your subtitle goes here

โต๊ะ-เก้าอี้จากกล่องกระดาษลัง

จบการนำเสนอ