จัดทำโดย นายธีระศักดิ์ เจริญศรี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แอ่วเชียงฮายโต้ยกันนะเจ้า...า..า
Advertisements

งานชิ้นที่ 3 การจัดงานในบ้าน 10 คะแนน
การจัดการของเสีย โดยวิธีทำให้เป็นก๊าซชีวภาพ
“แนวทางในการปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ”
งานผลิตปุ๋ยชีวภาพ เป็นการนำสิ่งเหลือใช้ในชีวิตประจำวันได้แก่เปลือกกล้วยนำมาผสมกับ หัวเชื้อจุลินทรีย์ และกากน้ำตาลในอัตราส่วน เปลือกกล้วย 2 กก.: เชื้อจุลินทรีย์
กฏระเบียบความปลอดภัย ของพนักงานขับรถบรรทุกสินค้า
Avian Salmonellosis ระบาดวิทยา
งานซ่อมบำรุง ฝ่ายอาคารสถานที่ สำนักบริหารระบบกายภาพ
ประชุมคณะกรรมการอนุรักษ์พลังงาน มหาวิทยาลัยมหิดล
หน่วยประปา เรื่อง การควบคุมคุณภาพน้ำอุปโภค/บริโภค
ข้อปฏิบัติในการใช้ห้องเรียนคอมพิวเตอร์

การเก็บรักษาและการเบิก-จ่าย วัคซีนเจอีชนิดเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์
ผลของการเสริมวิตามิน บี 12 ต่อองค์ประกอบของไข่
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
เสนอ รศ.สุวิทย์ วรรณศรี รายวิชา BIOL351 ชีววิทยาของสัตว์ในท้องถิ่น
การเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุยในบ่อซิเมนต์
ตารางแสดงรายละเอียดการเคลื่อนย้ายสัตว์แต่ละชนิด เข้า-ออก จังหวัดพิจิตร
โรคนิวคาสเซิล (Newcastle disease : ND)
กลุ่มอาการท้องเสียในลูกโค (Calf scour)
การดำเนินงาน โรงพยาบาลสายใยรัก แห่งครอบครัว จังหวัดอุตรดิตถ์
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
การล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล
โดย พลตรี เอนก แสงสุก ผู้ทรงคุณวุฒิกองบัญชาการกองทัพไทย
พร้อมสาธิตวิธีการสวมใส่ และถอดอุปกรณ์ป้องกันตน
เทคนิคการพ่นสารเคมี สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5.
เทคนิคการพ่นสารเคมี โดย ดอกรัก ฤทธิ์จีน
องค์ความรู้น้ำส้มควันไม้ สายด่วนข้อมูลปฏิรูปที่ดิน
การทำธุรกิจแบบยั่งยืน การตลาดแบบแม่ไก่อารมณ์ดี
ระบบไฟฟ้ากับเครื่องกล
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
นำเสนอโดย,,, นายสุวิทย์ เมืองวงศ์
ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน
การผสมเทียม   การผสมเทียม (Artificial insemination) หมายถึง การทำให้เกิดการปฏิสนธระหว่างไข่กับอสุจิ ที่มนุษย์เป็นผู้ทำให้เกิดการปฏิสนธิ โดยนำน้ำเชื้ออสุจิจากสัตว์ตัวผู้ที่เป็นพ่อพันธุ์ไปผสมกับไข่ของสัตว์ตัวเมียที่เป็นแม่พันธุ์
น้ำมันมะพร้าวสกัดเย็น
สมาคมผู้เพาะเลี้ยงปลาไทย
ตรวจพื้นที่ 5ส. ฝั่งคลินิคประกันสังคม
การปลูกพืชกลับหัว.
เครื่องปั่นน้ำผลไม้.
จักรเย็บผ้า.
ลิฟต์.
ไดร์เป่าผม.
อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม การแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์
ของภาชนะสัมผัสอาหาร และมือ
นวัตกรรม ของ งานจ่ายกลาง และงานซ่อมบำรุง ปี 2552
************************************************
Wean-to-Finish (WTF) System
นิวคาสเซิล ไปถึงไหนกันแล้ว?
1.ใช้ถ่านไฟฉายที่สามารถบรรจุไฟได้ใหม่
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดขอนแก่น
ตารางวิเคราะห์ข้อมูลที่ใช้จัดทำคำอธิบายรายวิชา
โดย ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
บริษัท AEK บรีดเดอร์ฟาร์ม สาขา ฟาร์มหนองเขิน
SHINPO – TOMI COMPANY LIMITED
โดย ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
สิ่งประดิษฐ์ตู้ส่องสภาพผ้าแบบประหยัด
การพัฒนาระบบการผลิตไก่พื้นเมืองฯ เพื่อสร้างโอกาส
มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์
หลักการและเหตุผล. - ปี หนอนกออ้อยระบาดขยาย
LOGO SHINPO – TOMI COMPANY LIMITED. MANUFACTURER CITY FOODS COMPANY, LTD Establishment:January 9th, 1986 Located: Nakornpathom Province Land & Building.
รายงานผลการปฏิบัติงาน ของทีม DMAT ณ จังหวัดสงขลา วันที่ 3-7 พฤศจิกายน 2553 (Disaster Medical Assistant Team) จังหวัดภูเก็ต.
การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก (เกษตรพอเพียง)
สถานที่ปรุง ประกอบ จำหน่ายอาหาร
มาตรการประหยัดพลังงาน
แผนกลยุทธ์ 5 ด้าน งานซ่อมบำรุง โรงพยาบาลศิริราช
การเพาะเลี้ยงแมลงห้ำ
การฝึกงานสัตวศาสตร์ 3.
ปลาหางนกยูง.
โดย สถานีพัฒนาอาหารสัตว์สุพรรณบุรี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปการฝึกงาน ประจำปีการศึกษา2554 ณ บริษัทเจริญโภคภัณฑ์อาหารจำกัด(มหาชน) (CPF) จัดทำโดย นายธีระศักดิ์ เจริญศรี สาขาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ระยะเวลาในการฝึกงาน ฟาร์มปักธงชัย 1 ฟาร์มปักธงชัย 3 โรงฟักปักธงชัย วันที่ 21 – 31 มีนาคม 2555 ฟาร์มปักธงชัย 3 วันที่ วันที่ 2 – 21 เมษายน 2555 โรงฟักปักธงชัย วันที่ 23 เมษายน – 15 พฤษภาคม 2555

ขอบเขตของการฝึกงาน การเตรียมโรงเรือน (ไม่อยู่ในช่วง) การเลี้ยงไก่พ่อแม่พันธุ์ระยะไก่เล็กอายุ 0-5 สัปดาห์ (ไม่อยู่ในช่วง) การเลี้ยงไก่พ่อแม่พันธุ์ระยะ 5-24 สัปดาห์ (16 สัปดาห์) การเลี้ยงไก่ระยะให้ผลผลิต การจัดการโรงฟัก

การเลี้ยงไก่พ่อ-แม่พันธุ์ หัวใจหลัก การเลี้ยงไก่พ่อ-แม่พันธุ์ 1.การให้อาหาร 2.การให้น้ำ 3.การสุขาภิบาล 4.การจัดการสภาพแวดล้อม

การให้อาหาร อุปกรณ์การให้อาหาร Duopan Genesis Choretime 16-18 ตัว 14-16 ตัว Choretime 10-12 ตัว

การให้อาหาร(ต่อ) การให้อาหารไก่เพศผู้ และเพศเมีย จะต้องมีการเตรียมอาหารก่อนที่จะถึงเวลาให้อาหาร คือ เตรียมเย็น ให้เช้า ทางฟาร์มจะเตรียมตอน 14.30 น. ก่อนไฟดับ เดินอาหารให้กระจายครบทุกๆเพลน ลดระดับเพลนให้อาหารเพศผู้ลงหลังจากเดินรางอาหารตัวเมียเสร็จ ประมาณ 3 นาที การจัดการไก่รุ่นระยะนี้ จะใช้ระบบการเลี้ยงแบบ Black out คือ จำกัดเวลาการให้แสงแค่ 8 ชม./วัน เริ่มเปิดแสงตอน 07.00 น. – 15.00 น. เหตุผลที่ต้องเตรียมอาหารเอาไว้ตั้งแต่ตอนเย็นเพราะ Choretime และ Duopan ใช้เวลานานในการเดินอาหารให้ครบรอบ การลดระดับเพลนอาหารตัวเมียลงก่อนประมาณ 3 นาที เพื่อสอนให้ไก่ตัวเมียรู้ว่าเป็นเพลงอาหารของมัน

การให้อาหาร(ต่อ) การตรวจเช็คระบบให้อาหารอัตโนมัติ การตรวจเช็คระบบการให้อาหารเพศผู้ และ เพศเมีย ตรวจดูระดับให้ได้ระดับเดี่ยวกันทั้งโรงเรือน ต้องเป็นเส้นตรง และขนานกันไปตามแนวยาวของโรงเรือน ลวดสลิงที่ใช้ยึดต้องมีครบทุกเส้น ไม่มีขาด หรือหย่อน ข้อต่อของรางอาหารแต่ล่ะท่อน ต้องเชื่อมกันให้สนิท ตรวจเช็คมอเตอร์ เกียร์ ให้พร้อมใช้งาน ถังบรรจุอาหารต้องประกอบกับชุดรางอาหาร ให้พร้อมใช้งาน ตรวจสอบสายไฟ สวิตช์ควบคุมระบบต่างๆ ให้พร้อมใช้งาน

การให้น้ำ อุปกรณ์ในการให้น้ำ (Nippie) ภายในเล้าจะมีนิปเปิลเป็นอุปกรณ์ให้น้ำเพียงอย่างเดียว ควรเช็คอัตราการไหลของน้ำจากหัวนิปเปิลอย่างสม่ำเสมอ ถ้าระดับแรงดันของน้ำสูงหรือต่ำเกินไป ต้องทำการปรับระดับน้ำให้เหมาะสม โดยจะปรับที่เครื่อง เลคกูเลเตอร์ (ตัวปรับแรงดันน้ำ) ติดตั้งอยู่ที่กลางเล้า โดยปกติแล้ว ไก่จะกินน้ำ>อาหารประมาณ 2.5-3 เท่า ถ้าไก่กินน้ำได้น้อยลง นั้นก็แสดงว่าเกิดความผิดปกติขึ้นแล้ว สันนิฐานว่าอาจจะเป็นเพราะหัวนิปเปิลเสื่อม หรือปริมาณคลอรีนมากเกินไป วิธีการตรวจเช็คอัตราการไหล จะทำการวัด 3 จุดคือ ต้นเล้า กลางเล่า ท้ายเล้า โดยใช้ Zylinder ขนาด 100 ML ไปแตะที่ปลายนิปเปิล จับเวลา 1 นาที แล้วนำค่าที่ได้มาหาค่าเฉลี่ย ค่าที่ได้ต้องอยู่ในช่วง 45-60 ML ชึ่งเป็นค่าปกติ ต้องมีการปรับความสูงของนิปเปิ้ลตามอายุของไก่

การสุขาภาบาล การกำจัดซากไก่ตาย และไก่คัดทิ้ง ซากไก่ จะต้องมีการตรวจเช็คไก่ตายทุกวัน เมื่อพบให้เก็บซากไก่ใส่ในถุงดำ แล้วนำไปทิ้งในถังขยะที่หน้าเล้า ไก่คัดทิ้ง เมื่อพบเห็นควรรีบคัดออกจากฝูงทันที เพราะอาจจะส่งผลต่อผลผลิต ก่อนที่จะนำไปทำลายก็ต้องทำให้ตายก่อนโดยการดึงที่คอ ซากไก่ตาย และไก่คัดทิ้งจะทำลายโดยการเผา

การจัดการสภาพแวดล้อม การวัดความเร็วลม การวัดความเข้มแสง ความเร็วลมที่เหมาะสม จะอยู่ในช่วง 700-900 CFM ความเข้มแสงที่เหมาะสม จะอยู่ในช่วง 8-10 Lux Anemometer Lux meter

Hatchery processing Eggs receiving Hatching eggs disinfectant Storage hatching eggs Holding room Eggs setting Setter Eggs transfer Hatcher Checked DOC hatching before pull chick pull chick Grading and vaccine process Chick storage Chick room Transportation

Eggs receiving รถส่งไข่ ชานรับไข่

Hatching eggs disinfectant เครื่องสเปรย์ยา สเปรย์ฆ่าเชื้อ

Holding room

ไข่ที่พร้อมเข้าตู้ฟัก Setter เอาไข่ขึ้นรถตู้ฟัก ไข่ที่พร้อมเข้าตู้ฟัก

Hatcher ตู้ฟักแบบ Multi stage system จากสไลด์ สิ่งที่สังเกตได้เริ่มต้นเลยคือ อายุของไข่ที่เข้าฟักมันไม่เท่ากัน ยิ่งไข่ที่มีอายุเข้าฟักมาก ความร้อนที่เกิดจากฟองไข่ยิ่งมากตามไปด้วย หลักการทำงานของตู้ฟักแบบ Mullti stage คือ การนำความร้อนจากไข่ที่มีอายุมากมากกไข่ทีทีอายุน้อย

Hatcher

ยกเลิกการกลับไข่ที่ 14 วัน Checked DOC hatching before pull chick แขวนผ้าม่าน ต่อสายลมกลับไข่ ใส่ฝาครอบล้อ ยกเลิกการกลับไข่ที่ 14 วัน

pull chick โต๊ะส่องไข่ การส่องไข่ลม

Grading and vaccine process การโกยไก่ การคัดเพศ

Grading and vaccine process การฉีดเข้าใต้ผิวหนัง (Subcutaneous Injection) วัคซีนนิวคาสเซิล (เชื้อตาย) และ วัคซีนกัมโบโร (เชื้อเป็น) เป็นการทำวัคซีนเชื้อเป็น และวัคซีนเชื้อตายในลูกไก่ โดยการฉีดเข้าใต้ผิวหนัง บริเวณคอลูกไก่ ให้วัคซีนลูกไก่ 1 ตัว ชนิดละ 0.1 cc.หรือ 1 โด๊ส ก่อนส่งมอบไปยัง ไปยังฟาร์มไก่กระทง Dovac Double injection 1)วัคซีนนิวคลาสเชิล (เชื้อตาย) 2)วัคซีนกัมโบโร (เชื้อเป็น)

Grading and vaccine process การจะมีการสเปรย์วัคซีนหลอดลมอักเสบ (เชื้อเป็น) +นิวคาสเซิล (เชื้อเป็น) โดยสเปรย์ครั้งละ 7 cc . ต่อลูกไก่ 102 ตัว และทิ้งไว้ 3 วินาที Vaccine spray 1)หลอดลมอับเสบ (เชื้อเป็น) 2)นิวคลาสเชิล (เชื้อเป็น)

Chick room การจัดเก็บลูกไก่ในห้องจัดเก็บ ปั้มตราประทับ ห้องเก็บลูกไก่ อุณหภูมิ 75 – 85 ⁰F ความชื้น 50 – 60 %RH ความเร็วลม 50 CFM/10000 ตัว ความเข้มแสง 2-8 Lux แรงดันภายในห้อง เป็นลบเล็กน้อย ปั้มตราประทับ ห้องเก็บลูกไก่

Transportation รถขนส่งลูกไก่ จุดรับลูกไก่

จบการนำเสนอ