กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย ฝ่ายติดตามนโยบาย ก้อย หนิง แก้ว. ประเด็นการศึกษา.
Advertisements

ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว
วิสัยทัศน์ องค์กรหลักของประเทศในการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดี 1.
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
ตำบลนมแม่ โมเดลการพัฒนาเด็กแบบองค์รวม
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
เป้าหมายการบริการ กรมอนามัย ปี 2548
การประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างและใช้ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
C P L F KPI 1 เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 80 ครอบครัว เด็ก แม่
การขับเคลื่อนองค์กรไร้พุง
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
นโยบายการพัฒนาเด็กปฐมวัย
ทิพาพร เสถียรศักดิ์พงศ์
การกำหนดและการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ด้านอาหารและ โภชนาการ
สวัสดีครับ.
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
การประชุมเชิงปฏิบัติการใช้ค่ากลาง
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน 19 มีนาคม 50 กรมอนามัย.
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
ผลงาน กองทันตสาธารณสุข (ตุลาคม2548 – กรกฎาคม2549)
ส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กก่อนวัยเรียน มีนาคม - มิถุนายน 2549
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
นิยาม Policy: ทิศทางของการกระทำที่ชัดเจนที่ได้ชี้นำและกำหนดการตัดสินใจ
ปัญหาของการจัดการน้ำคือ อะไร เพราะเหตุใด ประชาชนจะร่วมกันจัดการ น้ำได้อย่างไร ใครบ้างที่ควรเข้ามาร่วม คำถาม.
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
นายแพทย์สมพงษ์ สกุลอิสริยาภรณ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
โครงการ หมู่บ้าน/ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
เด็กผอม – เด็กอ้วน ล้วนเป็นปัญหาของชาติ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
กรมอนามัย ในบทบาทโครงการ
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
จุดประกายการพัฒนาศักยภาพโรงเรียนเด็กไทยแก้มสและบนบาทของทีมวิทยากรระดับเขต วันที่ 5 มกราคม 2557 โรงแรมเอเชีย แอร์พอร์ท โดย สง่า ดามาพงษ์
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
แผนงาน พัฒนาศักยภาพเครือข่าย เพื่อการขับเคลื่อนงาน อาหารและโภชนาการเชิง รุก โดย นายสง่า ดามาพงษ์ นักวิชาการสาธารณสุข ระดับ 9 กรมอนามัย.
เป้าประสงค์ มีระบบและกลไกการบริหารจัดการที่ดีด้านอาหารและโภชนาการในระดับท้องถิ่น เกิดศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บ้านรับเลี้ยงเด็ก โรงเรียน และชุมชนที่พึงประสงค์ด้านโภชนาการ.
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร ทีมปฏิบัติการ และ นักการตลาดเชิงสังคม 0-3 ปี แม่ พ่อฯ ครอบครัว 0-5 ปี นิทาน “หม่ำๆ” นิทาน “แม่ยังจำได้” คู่มือ “พ่อแม่” ทีมวิชาการ อสม. แกนนำ สื่อชุมชน ชุมชน แผนยุทธศาสตร์สมวัย 3 ปี 1 ปี 3-5 ปี ผดด.แม่ครัว ศพด. บ้านรับเลี้ยง สถานรับเลี้ยง ภาพพลิก FBDG (แกนนำ อสม.) บทความหอกระจายข่าว เสียงตามสาย บทความสั้นวิทยุชุมชน อบต./ เทศบาล ผู้บริหาร ครู แม่ครัว ร้านค้า ผู้ปกครอง 6-14 ปี สพท. โรง เรียน ทีมนักการตลาดเชิงสังคม คู่มือ บริหารจัดการ (อปท) คู่มือ ผดด. ร่วมใจสร้างเด็กไทยฯ คู่มือ ช่วยเด็กไทยให้กินขนมดี นิทาน “แม่ยังจำได้” โปรแกรมอาหารกลางวัน โปรแกรมเฝ้าระวัง หลักสูตร อบรม สื่อสร้างสรรค์ฯ โครงการ สมวัย ท้องถิ่น จังหวัด สื่อสาร สาธารณะ ผู้บริหาร คู่มือบริหารจัดการอาหารในโรงเรียน โครงการ สมวัย แม่ครัว และผู้ประกอบการ คู่มือแม่ครัวอนามัยฯ คู่มือช่วยเด็กไทย ให้กินขนมดี ครู โปรแกรมอาหารกลางวัน โปรแกรมเฝ้าระวัง ชุดเรียนรู้กลาง(บูรณาการใน 8 สาระ) HUB/ทีมภาค นโยบาย สื่อสารสาธารณะ ศึกษา/มหาดไทย ระบบบริหารจัดการ

บูรณาการสู่งานประจำ ระบบการ บริหารจัดการ เพื่อ เด็กไทยสมวัย นโยบายอาหารและโภชนาการ - แผนงานอาหารและโภชนาการ ระยะ 3 ปี 1 ปี -- โครงการโภชนาการสมวัย บูรณาการสู่งานประจำ วิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ คณะทำงานสหวิชาชีพ - ระดับภาค - ระดับจังหวัด - ระดับพื้นที่ การร่วมทุนและทรัพยากรอื่นจากทุกภาคส่วน ระบบการ บริหารจัดการ เพื่อ เด็กไทยสมวัย บูรณาการ งบประมาณ ระดมทรัพยากร ในท้องถิ่น บุคลากร พัฒนาขีดความสามารถด้านการจัดการอาหารและโภชนาการ ที่ได้มาตรฐาน เสริมพลัง & สร้างแรงจูงใจ - ทักษะการจัดการ (Management skill) ทักษะการสื่อสารและการตลาดเชิงสังคม (Sale supervisor) ทักษะการปฏิบัติงาน (Technical skill) ทักษะการสร้างการมีส่วนร่วม (Owner & Partnership skill) การกำกับ ติดตาม ประเมินผล (Empowerment evaluation)

2. ด้านการพัฒนาบุคลากรและภาคีเครือข่าย (บทบาท) ความคาดหวังต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการพัฒนาระบบและกลไก เพื่อเด็กไทยมีโภชนาการสมวัย ในระยะ 3 ปี 1. ด้านโครงสร้าง 2. ด้านการพัฒนาบุคลากรและภาคีเครือข่าย 3. ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาพฤติกรรมโภชนาการ 4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ

1. ด้านโครงสร้าง มีการแต่งตั้งคณะกรรมการอาหารและโภชนาการ ระดับท้องถิ่น 1. ด้านโครงสร้าง มีการแต่งตั้งคณะกรรมการอาหารและโภชนาการ ระดับท้องถิ่น มีการบรรจุงานอาหารและโภชนาการไว้ในวิสัยทัศน์ / พันธกิจ / ยุทธศาสตร์ และมีแผนงาน / โครงการ รองรับ รวมทั้งมีการกำหนดบทบาท หน้าที่ ผู้รับผิดชอบงานที่ชัดเจน มีการจัดสรรทรัพยากรเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานโครงการ มีการติดตามและประเมินผลเป็นระยะๆ โดยการสร้างแรงจูงใจ ให้เกิดพลังในการดำเนินงาน มีฐานข้อมูลด้านสถานการณ์อาหารและโภชนาการในระดับท้องถิ่น เช่น ฐานข้อมูลภาวะโภชนาการและพฤติกรรมโภชนาการ ทารก เด็กวัยก่อนเรียน และเด็กวัยเรียน ก่อนและหลังดำเนินงาน เพื่อเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการ และนำข้อมูลไปใช้ในการวางแผนพัฒนางาน

2. ด้านการพัฒนาบุคลากรและภาคีเครือข่าย 2. ด้านการพัฒนาบุคลากรและภาคีเครือข่าย ส่งเสริมและสนับสนุนทรัพยากรในการพัฒนาศักยภาพบุคลากรในองค์กร เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการดำเนินงานพัฒนาเด็กไทยให้มีโภชนาการสมวัย ส่งเสริมและสนับสนุนทรัพยากรในการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง เช่น คณะครูและผู้บริหารโรงเรียน ผู้ดูแลเด็ก/พี่เลี้ยงในบ้านรับเลี้ยงเด็ก สถานรับเลี้ยงเด็ก แกนนำชุมชน ผู้ประกอบการด้านอาหาร ภาคประชาชน และเครือข่ายผู้ปกครอง ฯลฯ ให้ได้รับการพัฒนาด้านอาหารและโภชนาการ มีการสร้างแรงจูงใจให้กับหน่วยงานและภาคีเครือข่าย ที่สนับสนุนให้เกิดศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บ้านรับเลี้ยงเด็ก สถานรับเลี้ยงเด็ก โรงเรียน และชุมชน ที่พึงประสงค์ ด้านโภชนาการ

3. ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อ การพัฒนาพฤติกรรมโภชนาการ 3. ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อ การพัฒนาพฤติกรรมโภชนาการ มีการกำหนดและประกาศนโยบายอย่างมีส่วนร่วม ได้แก่ จัดหาพื้นที่ให้โรงเรียนทำการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน และออกกำลังกาย มีการส่งเสริมให้ชุมชนปลูกผัก ผลไม้ เลี้ยงปลา เลี้ยงไก่ เพื่อสนับสนุนโครงการอาหารกลางวัน และการเรียนรู้ของ เด็กปฐมวัย นักเรียน และผู้ปกครอง กำหนดมาตรฐานของ อาหาร เครื่องดื่ม และขนมเด็กที่ จำหน่ายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน และชุมชน เช่น ขนมที่จำหน่าย ต้องมีตราสัญลักษณ์อาหารลดน้ำตาล ไขมัน โซเดียม ลงร้อยละ 25 ร้านอาหารในชุมชนผ่านการรับรองเมนูชูสุขภาพ ร้านค้าหน้าโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็ก ปลอดน้ำอัดลม/น้ำหวาน ฯ ร้านค้าในชุมชนจำหน่ายเกลือและน้ำปลาเสริมไอโอดีนที่ได้มาตรฐาน ฯลฯ

4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ 4. ด้านการสื่อสาร ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการสื่อสารสังคม และ มีกระบวนการสร้างกระแสสังคมเพื่อขับเคลื่อนนโยบายผ่านสื่อท้องถิ่น หอกระจายข่าว และเสียงตามสาย ฯ อย่างต่อเนื่อง 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดนโยบายสาธารณะด้านอาหารและโภชนาการในระดับองค์กร และท้องถิ่น เพื่อผลักดันสู่ระดับชาติ