บทที่ ๓๓
ลอย To float เรา จะไป ลอย กระทง We will go to float the flower floating.
ลอย To move เจ้าโต ลอย หน้า ไปมา Toh moves his face back and forth.
ลอยหน้า As an expression ครูบอกให้เขาไปนั่งที่ แต่เขา ยังยืนลอยหน้า The teacher told him to go to his seat but he still stand indifferently. Note: It shows a sign of disrespect boldness.
หน้า หน้า = face เจ้าโตลอยหน้าไปมา หน้า = season ฉันไม่ชอบหน้าหนาวที่อเมริกา เพราะว่าหนาวเกินไป หน้า = in front of ปิติรอมานีอยู่ที่หน้าโรงเรียน
น่า อาหารไทยดูน่ากิน มานีพูดน่าฟัง เด็กๆหน้าตาน่ารัก เมืองไทยน่าเที่ยว เรื่องหมาน่าเล่า
ต่าง different รูปนี้ ต่าง จาก รูปนั้น This picture is different from that picture.
ต่าง Each / each different one / every นักเรียน ต่าง หัวเราะ ชอบ ใจ Every student laughs happily. VS นักเรียน ทุกคน หัวเราะ ชอบ ใจ Every student laughs happily.
ได้เพื่อน To make friend มานี ได้เพื่อน มากมาย ที่ โรงเรียน Manii made a lot of friends at school.
ได้พบเพื่อน To make friend มานี ได้พบเพื่อนใหม่ มากมาย ที่ โรงเรียน Manii made a lot of friends at school.
ได้รู้จักเพื่อน To make friend มานี ได้รู้จักเพื่อนใหม่ มากมาย ที่ โรงเรียน Manii made a lot of friends at school.
ของตน / ของตนเอง มานี เล่า เรื่อง หมา ของตน ( ของตนเอง ) ให้ เพื่อน ฟัง Manii told the story of her own dog to her friends.
ของตน / ของตนเอง (ctd.) ของตนเอง / ของตัวเอง ของเขาเอง ของเธอเอง ของเราเอง ของฉันเอง / ของผมเอง
ของตน / ของตนเอง (ctd.) แม่บอกมานะว่า “ ก่อนไปโรงเรียน อย่าลืมเอากระเป๋า นักเรียนของตัวเอง ไปด้วย ”
ของตน / ของตนเอง (ctd.) มานีถามปิติว่ากระเป๋า ใบนี้เป็นของใคร ปิติ ตอบมานีว่าเป็นของเขา เอง
ของตน / ของตนเอง (ctd.) มานีพูดว่า “ ชูใจ ฉันใช้ ดินสอของเธอนะ ” ชูใจพูดว่า “ ใช้ดินสอของเธอ เองสิ ”
ของตน / ของตนเอง (ctd.) มานีถามว่า “ ชูใจ เราต้อง เอากระเป๋าของเราเองไป โรงเรียนใช่ไหม ” ชูใจพูดว่า “ ใช่ เราต้องเอา กระเป๋าของเราเองไป โรงเรียน ”
ของตน / ของตนเอง (ctd.) มานีถามว่า “ ชูใจ กระเป๋า ใบนี้ของใคร ” ชูใจพูดว่า “ กระเป๋าของ ฉันเอง ”
ทั้ง.... และ ทั้ง มานะ และ ปิติ ชอบ ขี่ม้า ทั้ง มานะ ทั้ง ปิติ ชอบ ขี่ม้า ทั้งคู่ ชอบ ขี่ม้า
ทั้ง.... และ มานะ เป็น นักเรียน ที่ ทั้ง ขยัน และ ตั้งใจ เรียน หนังสือ มานะ เป็น นักเรียน ที่ ทั้ง ขยัน ทั้ง ตั้งใจ เรียนหนังสือ
ทั้ง.... และ เจ้าจ๋อ ทั้ง ซน และ เสียงดัง เจ้าจ๋อ ทั้ง ซน ทั้ง เสียงดัง
สับสน ห้องเรียน ดู สับสน วุ่นวาย ผม ( รู้สึก ) สับสน กับ ภาษาไทย
พอดี ห้องนี้ มี เก้าอี้ ห้า ตัว พอดี ( สำหรับพวกเรา ) There are exactly five chairs (for us). ผม มี เงิน พอดี กับ ราคา ตั๋ว I have exact amount of money for the tickets. เสื้อ ตัวนี้ พอดี กับ ตัว เธอ This shirt fits you (your body).
เต็มที่ ครูให้นักเรียนคุยได้เต็มที่ ก่อนเข้าห้องเรียน ที่เมืองไทย มีอาหารมากมาย เรากินได้เต็มที่ ถ้าผมมีวันหยุดหลายวัน ผม ก็นอนและเที่ยวได้เต็มที่ ถ้าฉันมีเงินมาก ฉันก็ใช้ได้ เต็มที่
Pattern of the poem This poem comprises of 4 stanzas [ บท ], and each stanza has 4 lines [ บาท ]. Each line is written in two seperate groups of words calles “ วรรค ", so there are 8 วรรค in one บท [stanza] of this poem.
Mandatory rhyme in each บาท The within-stanza rhyme pattern, which is mandatory, is as shown below (shown in red and green). The internal rhyme is shown in purple. However, internal rhyme like this one is not mandatory.
Poem
Mandatory rhyme between บาท There is also a between- stanza rhyme. The last word of วรรค 8 of the first stanza ( บาทที่ 1) rhymes with the last word of วรรค 4 of the next stanza ( บาทที่ 2)
Poem