ศาสนาขงจื๊อ ศาสนาขงจื้อเกิดในสมัยราชวงศ์โจว ศาสนานี้ตั้งชื่อตามศาสดาว่า “ขงจื้อ” แต่เดิมศาสนานี้มิได้จัดเป็นศาสนา ต่อมาเมื่อคำสอนเผยแพร่ไปทั่ว ผู้คนต่างพากันยกย่องสรรเสริญจนกลายเป็นศาสนา.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การปฏิรูปการส่งเสริม และการจัดการศึกษาตลอดชีวิต
Advertisements

และจรรยาบรรณของวิชาชีพครู
วงจรการประยุกต์ความรู้
บทที่ 7 ศาสนา Religion.
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล
สถาบันศาสนา.
กับทิศทางการพัฒนาสังคมไทย
การดำเนินชีวิตอย่างมีอุดมคติ
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
โดย นายสุนทร พุกสุข สพป ปทุมธานี เขต 1
สังคหวัตถุ 4 สังคหวัตถุ หมายถึง ข้อปฏิบัติที่เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจของบุคคลหรือหลักธรรมที่เป็นเครื่องประสานสร้างสรรค์สามัคคีให้เกิดในหมู่สมาชิกชาวพุทธ.
เตรียมตัวผู้แทนชาว ไทย เข้าสู่ “AMC เชียงใหม่ ” “ บอกเล่าเรื่องพระ เยซูเจ้า ให้ชาวเอเชีย ” ณ โรงแรมโลตัส ปางสวนแก้ว เชียงใหม่ ตุลาคม 2006.
ข้อคิดสำหรับการไตร่ตรอง "ศีลล้างบาปทำให้ชีวิตฉันเปลี่ยนแปลงไป"
โฆษณาปฏิบัติธรรมทั่วประเทศ โดย เสถียรธรรมสถาน
ศาสนาขงจื้อ จริยธรรมทางสายกลาง.
ศาสนาชินโต (ชินเต๋า) กามิ มิชิ
ความเชื่อในพระพุทธศาสนา ในทองถิ่นที่ดีต่อสุขภาพกาย
ด.ญ.ปรางค์วลี สีดอกไม้ ชั้น ม.3/2 เลขที่ 15
ลักษณะของพุทธศาสนานิกายเถรวาท
บทที่ 6 ค่านิยมในสังคมไทย
“คุณธรรม” และ “จริยธรรม”
ความเห็นจากครูแพทย์ (เก่า) คนหนึ่ง
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสิงห์บุรี
พระพุทธศาสนา ฝึกคนไม่ให้ประมาท.
เทคนิคการทำงานกับชาวบ้าน : ประสบการณ์การเรียนรู้ที่ควรแก่การแสวงหา
ความเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบต่อการศึกษาและวิชาชีพครู ในปัจจุบันและอนาคต
การปฏิรูปการส่งเสริม และการจัดการศึกษาตลอดชีวิต
เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม
ระบบความเชื่อ.
ด.ช.ณัฐนันท์ขาววิเศษ เลขที่1ป4/6
มนุษยสัมพันธ์ในการทำงาน
ภูมิปัญญาทางภาษา มีภูมิปัญญาไทยแฝงตัวอยู่มากมาย ทั้งการดำเนินชีวิต
นักเรียนช่วงชั้นที่ ๓ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓/๒
K M กจ. ประจำเดือนมีนาคม 2551
หน้าที่ ของผู้จัดและผู้ให้การศึกษานั้น กล่าว อย่างสั้นที่สุดก็คือการให้คนได้เรียนดี เพื่อที่จะ สามารถทำการงานสร้างตัวและดำรงตัวให้เป็นหลัก เป็นประโยชน์แก่ส่วนรวมได้
จัดทำโดย นางสาวฉัตรฤทัย บัวสุข
ศาสนพิธี สำหรับชาวพุทธ.
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
สังคมศึกษา ศาสา และวัฒนธรรม จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดย
สถาบันศาสนา หมายถึง แบบแผนของความคิดการกระทำในเรื่องเกี่ยวกับ จิตใจ ความเชื่อทางสังคม ทางศาสนา และเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ประกอบด้วย 3 ประการ คือ.
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
สมาชิก นายธนากร กุจิรพันธ์ ม. 4/6 เลขที่3 นายภูวพงษ์ ภุมราพันธุ์ ม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก
ความรู้เกี่ยวกับวรรณกรรม
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
จรรยาบรรณ นางสาวสมลักษณ์ ลวดเงิน พนักงานพัฒนากองทุนหมู่บ้าน
สาระการเรียนรู้ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
จัดทำโดย : จันทรัช พลตะขบ : นพรัตน์ พลตะขบ สอนโดย : ครูพนิดา กำลา
คุณธรรมนักปกครอง กับค่านิยมหลักของคนไทย นายประดิษฐ์ ยมานันท์
บที่ ๒ เนื้อหาของวัฒนธรรม
เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง
โรงเรียน เทศบาล 2 (บ้านหาดใหญ่) วัฒนธรรมไทยในปัจจุบัน
ศาสนาคริสต์.
ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐศาสตร์ การเมือง
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะชำนาญการ
พุทธศาสนากับชีวิตประจำวัน ผศ.ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
จัดทำโดย ชื่อนายฤทธิ์รงค์ ลิ้มม่วงนิล ช่างยนต์ ปวช.1 เลขที่19
จะสำเร็จได้ด้วย ความพอดีของตน
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
การพัฒนาตนเอง.
อุดมการณ์ และจิตวิญญาณ ของความเป็นครู.
พุทธปรัชญา ความเป็นมา พุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ
ศาสนาขงจื๊อ ขงจื๊อ ( ปีก่อน ค.ศ.) เป็นผู้วางรากฐานในกับลัทธิขงจื๊อที่มุ่งแก้ไขปัญหาการเมืองและสังคมของจีนในสมัยจลาจล โดยเน้นให้มนุษย์อยู่ร่วมกันในสังคมด้วยความสงบสุขเรียบร้อย.
เล่าจื๊อผู้ให้กำเนิดลัทธิเต๋า
การศึกษาเพื่อสืบสวนหา ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับความเป็นมาของ สิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือเหตุการณ์ใด เหตุการณ์หนึ่ง จากหลักฐานที่ได้มี บันทึกเก็บไว้ หรือประสบการณ์จากผู้รู้
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ศาสนาขงจื๊อ ศาสนาขงจื้อเกิดในสมัยราชวงศ์โจว ศาสนานี้ตั้งชื่อตามศาสดาว่า “ขงจื้อ” แต่เดิมศาสนานี้มิได้จัดเป็นศาสนา ต่อมาเมื่อคำสอนเผยแพร่ไปทั่ว ผู้คนต่างพากันยกย่องสรรเสริญจนกลายเป็นศาสนา

ศาสนาขงจื้อ เกิดในประเทศจีน บริเวณมณฑลชานตุงปัจจุบัน ขงจื้อทำงานรับราชการอยู่ในราชสำนักจีน ด้วยความสามารถ ทำให้ได้รับการเลื่อนขั้นจนเทียบเท่า “รัฐมนตรี” ในปัจจุบัน ขงจื้อเป็นผู้วางรากฐานการปกครองอย่างดีเยี่ยม โดยเชื่อว่า “วิธีจะมีรัฐบาลที่ดี ผู้ปกครองควรต้องเป็นผู้ปกครองจริงๆ คนเราทุกคนควรทำหน้าที่ของตนให้ดี ประชาชนเป็นส่วนที่สำคัญที่สุดของรัฐ ...”

ลักษณะสำคัญศาสนาขงจื้อ เน้นเป็นศาสนาแนวปรัชญา ส่วนมากเน้นทางด้านจริยธรรมการเมือง เน้นในเรื่องคุณความดีของบรรพบุรุษ ปกครองการอย่างมีความเมตตากรุณา และมีความซื่อสัตย์สุจริตเป็นที่ตั้ง

คัมภีร์ของศาสนาขงจื้อ เป็นข้อเขียนของขงจื้อโดยตรง เรียกว่า “กิงทั้ง 5” 1. อี้กิง ความเปลี่ยนแปลงของโลกและจักรวาล ตามทัศนะคติความเชื่อของชาวจีนโบราณ 2. ซูกิง เล่าถึงเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ต่างๆ ที่แสดงให้เห็นปรัชญาจีนอย่างลึกซึ้ง 3. ซือกิง คัมภีร์คาถา และบทกวี แสดงถึงสุนทรีย สรรเสริญความสำคัญของจักรพรรดิ “ใช้ดนตรีเป็นสื่อในการบรรลุทางศาสนา” 4. ลิกิง เป็นคัมภีร์แห่งพิธีกรรม เกี่ยวกับจารีตประเพณี สังคม และชีวิต 5. ชุน- ชิว บันทึกจดหมายเหตุ เกี่ยวกับศีลธรรมของนักปกครองและศีลธรรมของฟ้า

คัมภีร์ของศาสนาขงจื้อ เป็นข้อเขียนที่ศิษย์ของขงจื้อเรียบเรียงขึ้น เรียกว่า “ชู หรือตำราทั้ง 4” 1. ต้าสุย บทความสั้นๆ เกี่ยวกับศีลธรรม การปกครองรัฐขึ้นอยู่กับการจัดระเบียบครอบครัว 2. จุงยุง เป็นคำสอนเรื่องทางสายกลาง การรู้จักประมาณตน ความสมดุล ความเหมาะสม ให้ความสำคัญเรื่องความซื่อสัตย์และความจริงใจ 3. ลุนยู เป็นประมวลคำสอนของศาสดาขงจื้อ นำคุณสมบัติดีๆ ของแต่ละบุคคลมาเป็นต้นแบบในการดำรงชีวิต 4. เม่งจื้อ คัมภีร์ที่เม่งจื้อ ผู้เป็นลูกศิษย์ของขงจื้อได้รวบรวมไว้ เกี่ยวกับความรู้สึกผิดชอบชั่วดี ความอ่อนโยน และจุดเริ่มต้นของปัญญา

คำสอนของศาสนาขงจื้อ เน้นเรื่องคุณความดีของบรรพบุรุษ คำนึงถึงความเป็นจริงในปัจจุบัน โดยเอาความดีงามของคนในอดีตมาเป็นแบบอย่าง หลักคำสอนมูลฐาน 4 ประการ ได้แก่ เยน ความเมตตากรุณา หยี ความยุติธรรม หลี พิธีกรรม ฉี สติปัญญา

หลักปฏิบัติตามคำสอนของขงจื้อ ศรัทธา ความเป็นผู้คงแก่เรียน การบำเพ็ญคุณประ โยชน์ การสร้างลักษณะนิสัยและทัศนคติที่ดีงาม ขนบธรรม เนียมและจารีตประเพณี

พิธีกรรมของศาสนาขงจื้อ พิธีบูชาขงจื้อ พิธีบูชาฟ้าดิน บูชาที่หลุมฝังศพของขงจื้อ มีการสร้างศาลอยู่ทั่วไป และหยุดทุกวันที่ 28 กันยายนของทุกปี 1. พิธีบูชาฟ้า 2. พิธีบูชาดิน 3. พิธีบูชาพระอาทิตย์ 4. พิธีบูชาพระจันทร์

สัญลักษณ์ของศาสนาขงจื้อ รูปหล่อ รูปปั้น หรือรูปเขียนของขงจื้อ หยิน-หยาง

อิทธิพลของขงจื้อต่อชาวจีน ชาวจีนให้ความสำคัญในเรื่องครอบครัวมาก ชาวจีนให้เกียรติต่อผู้สูงอายุ ชาวจีนให้ความสำคัญต่อบรรพบุรุษที่ล่วงลับไปแล้ว ชาวจีนนิยมยกย่องครูบาอาจารย์ แต่ไม่นิยมยกย่องทหาร ชาวจีนไม่ชอบมีเรื่องขึ้นโรงขึ้นศาล แต่พยายามปรองดองกันให้ได้

ขงจื๊อ-เต๋า-พุทธ= เซ็น 3 ศาสนานี้กระทบกระทั่งกันในราชวงศ์ถัง จนในราชวงศ์แมนจู มีลักษณะผสมผสานกัน ทั้ง 3 ศาสนามีอิทธิพลต่อประเทศไทยหลายอย่าง เช่น - พิธีกงเต๊ก - พิธีเทกระจาด - พิธีกินเจ

ข้อเปรียบเทียบระหว่างเต๋ากับขงจื้อ เล่าจื๊อ มุ่งหาความสงบด้วยการแยกตัวออกจากสังคม ขงจื๊อ เน้นการอยู่ในสังคม ไม่หลีกหนี จะต้องแก้ไขสังคม แต่ทั้งสองท่าน มีจุดหมายปลายทางอันเดียวกันคือความมีสันติของหมู่ชน