งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สาระการเรียนรู้ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สาระการเรียนรู้ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สาระการเรียนรู้ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
สาระการเรียนรู้ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม

2 สัญลักษณ์ของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู สัญลักษณ์ของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู

3 ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู พระตรีมูรติหรือผู้เป็นเจ้าทั้งสาม มีตัวอักษร ๓ ตัว อันศักดิ์สิทธิ์เรียกกันว่า “โอม” ประกอบด้วยอักษร ๓ ตัวคือ “อะ” หมายถึง พระวิษณุหรือพระนารายณ์ “อุ” หมายถึง พระอิศวรหรือพระศิวะ “มะ” หมายถึง พระพรหม

4 ลักษณะสำคัญของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู ลักษณะสำคัญของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู พระพรหม คัมภีร์พระเวท มีวิวัฒนาการสืบต่อเนื่องกันมาโดยตลอด

5 ความเป็นมาของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู ความเป็นมาของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู อารยัน+ดราวิเดียน – เขตลุ่มน้ำสินธุ

6 ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู วิวัฒนาการของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู สมัยพระเวท
สมัยพราหมณ์(พระพรหม) - ลัทธิตรีมูรติ * พระพรหม (ผู้สร้าง) * พระวิษณุ หรือพระนารายณ์ (ผู้รักษา) * พระศิวะ หรือพระอิศวร (ผู้ทำลาย)

7 ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู 3. สมัยฮินดู แบ่งออกเป็น 6 ลัทธิ (ษัททรรศนะ คือ สางขยะ โยคะ นยายะ ไวเศิกะ ดีบางสา เวทานตะ) * มุ่งสู่ความหลุดพ้น คือ โมกษะ

8 ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู โมกษะ การหลุดพ้นจากการเวียนว่ายตายเกิด
(เป็นจุดมุ่งหมายสูงสุดของศาสนา)และมีสภาวะเป็นเอกภาพ เป็นอันหนึ่งอันเดียวกับพระพรหม

9 ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู ปรมาตมัน
วิญญาณอันยิ่งใหญ่ เกิดขึ้นเอง เป็นปฐมของวิญญาณ เป็นอมตะ เมื่ออกจากร่างจะไปเกิดใหม่

10 ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู กำหนดคัมภีร์พระเวท ฤคเวท - สรรเสริญเทพเจ้า
ฤคเวท - สรรเสริญเทพเจ้า ยชุรเวท - บูชายัญ สามเวท – เป็นบทร้อยกรอง นำมาจากฤคเวท อถรรพเวท - เวทมนต์คาถาไสยศาสตร์และสิ่งศักดิ์สิทธิ์

11 ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู หลักคำสอน เรื่องวรรณะ
วรรณะพราหมณ์ – นักบวช ปุโรหิต ผู้พิพากษา ครู นักปราชญ์ วรรณะกษัตริย์ – พระเจ้าแผ่นดิน ขุนนาง ทหาร ตำรวจ แพศย์ – ชาวนา ชาวสวน พ่อค้า ศูทร – กรรมกรผู้ใช้แรงงาน มีหน้าที่รับใช้วรรณะทั้ง 3 หมายถึง พวกพื้นเมือง ดราวิเดียน หรือมิลักขะ * พวกสมรสข้ามวรรณะ เรียกว่า จัณฑาล มีฐานะต่ำราวกับไม่ใช้มนุษย์

12 ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู การเปลี่ยนแปลงเข้าสู่สมัยฮินดู
การเวียนว่ายตายเกิด- ดวงวิญญาณจะเวียนว่ายตายเกิดไม่สิ้นสุดจนกว่าจะเข้าสู่พรหม การเข้าสู้พรหม – สะสมความสุขและออกไปบำเพ็ญพรตในป่า การเวียนว่ายตายเกิดจากกรรมแต่ปางก่อน – ทำดี ไปสู่วรรณะสูง การสิ้นสุดการเกิดใหม่ของโลก – เป็นหน้าที่ของพระเจ้าผู้สร้าง และพระเจ้าผู้ทำลาย สมัยนี้ได้พัฒนาเข้าสู่ เอกเทวนิยม (พระพรหม) องค์ประกอบในสันติสุขของโลก *พราหมณ์ * คัมภีร์ *พระเวท กำหนดให้คนในตระกูลพราหมณ์ กษัตริย์ แพศย์ ประพฤติตนใน อาศรม 4 อย่างเคร่งครัดมากขึ้น

13 ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู อาศรม 4 –ขั้นตอนการดำเนินชีวิตของชาวฮินดู
พรหมจารี – แรกเกิดของชีวิต เล่าเรียน (เกิด-25 ปี) คฤหัสถ์ – ผู้ครองเรือน (26-50 ปี) วนปรัสถ์ – ทำประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติ (51-75 ปี) สันยาสี - การเสียสละชีวิตคฤหัสถ์ออกบวชเพื่อโมกษะสู่ (76 ปี...) ปรมาตมัน (เข้าไปรวมกับวิญญาณอมตะของพระพรหม)

14 หนทางที่จะนำไปสู่ความหลุดพ้น(โมกษะ)
ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู หนทางที่จะนำไปสู่ความหลุดพ้น(โมกษะ) ชญาณโยคะ- ปัญญา กรรมโยคะ- การกระทำ ภัทติโยคะ- จงรักภักดีต่อพระเจ้า

15 ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู นิกายในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
นิกายพรหม -นำถือพระพรหม(ผู้สร้าง) นิกายไศวะ-นับถือพระศิวะหรือพระอิศวร(ผู้สร้างและผู้รักษา) นิกายไวษณพ -นับถือพระวิษณุหรือพระนารายณ์(ผู้สร้างและผู้ทำลาย นิกายศากยะ หรือนิกายศักติหรือลัทธิบูชาเทวี – พระอุมาเทวี(ชายาพระศิวะ) พระลักษมีเทวี (ชายาพระวิษณุ) พระสรัสวดีเทวี (ชายาพระพรหม)

16 ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู พิธีกรรมที่สำคัญ
พิธีสังสการ- เป็นพิธีประจำบ้าน ( เช่นตั้งชื่อ แต่งงาน) พิธีศราทธ์- ทำบุญให้แก่ผู้ล่วงรับเป็นพิธีที่สำคัญที่สุด พิธีบูชาเทวดี (เช่นการสวดมนต์ตอนเช้า เย็น)


ดาวน์โหลด ppt สาระการเรียนรู้ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google