Module 4 เครื่องวัดสีและเครื่องวัดสีเฉพาะ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สื่อการเรียนรู้ ความงามของศิลปะด้านจิตรกรรม ศ เรื่อง
Advertisements

น้ำหนักแสงเงาหุ่นนิ่ง
กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ
Library Function.  x เป็นตัวเลขที่กำหนดตำแหน่งของ คอลัมน์บนหน้าจอ มีค่าตั้งแต่ 1 – 80  y เป็นตัวเลขที่กำหนดตำแหน่งของ แถวบนหน้าจอ มีค่าตั้งแต่ 1 – 25.
การพัฒนาระบบประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานแทนที่กา​รใช้ระบบ SAP-ESS ในส่วนของกา​รประเมินผลการปฏิบัติงานเพื่อลดค่าใช้จ่ายในเรื่องของ License.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
โดย นายชญาน์ แหวนหล่อ นายธนวัฒน์ วัฒนราช
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
วงจรสี.
LAB # 3 Computer Programming 1
: Computer Graphics (คอมพิวเตอร์กราฟิกส์)
การเขียนรายงานการทดลอง
หน่วยที่ 7 การเลี้ยวเบนและโพลาไรเซชัน
Ultrasonic sensor.
ปากกาแสง (Light Pen) นางสาวพัชรินทร์ จันทร์เขียว
วิชาถ่ายภาพ.
หน่วยที่ 5 หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
Poster Presentation โดย สำหรับ การประชุม สคร.5 รศ.นพ.สมพนธ์ ทัศนิยม
สภาพท้องฟ้า หลักปฏิบัติในการตรวจอากาศ
เครื่องฉายโปรเจคเตอร์ (Projector)
Liquid Crystal Display (LCD)
ข้อเปรียบเทียบ Monitor 2 แบบ
LCD Monitor. ● ทำความรู้จักมอนิเตอร์ LCD ● ทำความรู้จักมอนิเตอร์ LCD ● ประเภทของมอนิเตอร์แบบ LCD ● ประเภทของมอนิเตอร์แบบ LCD ● หลักการทำงานของมอนิเตอร์
Basic Color HSB Model หลักการมองเห็นสีด้วยสายตาคน เป็นพื้นฐานการมองเห็นสี ตามสายตามนุษย์ HSB Model จะ ประกอบขึ้นด้วยลักษณะของสี 3 ลักษณะ Hue เป็นที่สะท้อนมาจากสีของวัตถุ
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
โครมาโตกราฟี โครมาโตกราฟี คือ การแยกสารโดย
การเสนอกระบวนงานบริการเพื่อขอรับการประเมิน
แสง สี ไฟ ในภาพยนตร์ Light Color Gaffer
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
ทฤษฏีสี หลักการใช้สี.
1. สีสันหรือฮิว(HUE) หมายถึง สีที่ตาเรามองเห็น
สี (Color).
Principle of Graphic Design
การใช้คำสั่งเงื่อนไข
ระบบสี และ การแสดงผลภาพ
การเขียนข้อเสนอโครงการ
พลังงาน (Energy) เมื่อ E คือพลังงานที่เกิดขึ้น        m คือมวลสารที่หายไป  และc คือความเร็วแสงc = 3 x 10 8 m/s.
การภาพจากการสะท้อนแสงของผิวโค้ง
Week 6 การถ่ายภาพดิจิทัลเบื้องต้น Digital Photo Technique.
บทที่ 11.
การจัดการเกี่ยวกับกรอบตอนที่ ๑ การสร้างกรอบ (FRAME) เบื้องต้น รูปแบ บ TAG คำสั่งเกี่ยวกับการสร้างกรอบ เบื้องต้น ประกอบด้วย กรอบ หรือ FRAME เป็นการแบ่งส่วนของ.
สิ่งประดิษฐ์ตู้ส่องสภาพผ้าแบบประหยัด
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพกราฟฟิกส์
 โครงการเป็นเครื่องมือในการบริหารงานและ พัฒนาองค์กร และเป็นการแปลงแผนแม่บทไปสู่ การปฏิบัติ
กล้องโทรทรรศน์.
โหมดสี ใน Photoshop เรื่องของสีมีความสำคัญอย่างมากในการใช้งานโปรแกรม Photoshop เพราะจะมีผลกับภาพที่เราต้องการปรับแต่งโดยตรง เราสามารถกำหนดโหมดสีใน รูปแบบต่างๆ.
วิธีการตรวจวิเคราะห์ปริมาณไอโอดีนในเกลือบริโภค
การนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์ ให้น่าสนใจได้อย่างไร
Physics3 s32203 light light2 บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
การถ่ายภาพ 1 หลักการทางฟิสิกส์เกี่ยวกับระบบแสงของกล้องถ่ายรูปในกรณีทั่วไป น้ำยาเคมีบนฟิล์มและระบบความไวของฟิล์ม กล้องถ่ายรูป เอ็กซ์โพสเซอร์
โดยครูศกุนต์ ก้อนแก้ว
ใช้สำหรับการปฏิบัติงานตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2553 เป็นต้นไป
Module 3 สี และ การวัดค่าสี
หลักการเลือกซื้ออาหาร
แว่นกรองแสง (Light Filter)
การคิดวิเคราะห์เพื่อการพัฒนางาน
โรงเรียนสายธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชื่อผลงานวิจัย ความพึงพอใจของครูผู้สอน ต่อการบริหารสถานศึกษาของวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ชื่อผู้วิจัย นางกุสุมา หาญกล้า.
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
โรงเรียนวังไกลกังวล หัวหิน
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
‘การบริหารผล’ การปฏิบัติราชการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Module 4 เครื่องวัดสีและเครื่องวัดสีเฉพาะ จุดประสงค์ เข้าใจหลักการทำงานของเครื่องวัดสี เข้าใจระบบการวัดค่าสีตามมาตรฐานสากล

Reproducibility , Sensitivity , Stability เครื่องวัดสี TRISTIMULUS และเครื่องวัดสีเฉพาะ (Specialized Colorimeters) ภาพที่ 10.15 แนวคิดในการพัฒนาเครื่องวัดสี (Colorimeter) ที่ออกแบบให้เหมือนการตอบสนองของตาคน คือ ต้องการต้นกำเนิดแสง 1 อัน กระจกกรองแสง 3 อัน กับสเปคตรัมส่งผ่านแสงซึ่งจะทำให้เหมือน กราฟ X,Y,Z และโฟโต้เซลล์ 1 อัน ตามการจัดเรียงในภาพ เราสามารถได้ค่า xyz ซึ่งแทนสีตัวอย่าง เครื่องวัดสี Tristimulus ที่มีใช้งานทั้งหมด หลักการปรับปรุงรายละเอียดของเครื่องในการตอบสนองโฟโต้เซลล์ Reproducibility , Sensitivity , Stability

การวัดค่าสีมีอยู่ด้วยกันหลายระบบแต่ที่มีใช้กันอยู่คือ 1. ระบบค่าสีมันเซลล์ ( Munsell Color System ) 2. ระบบ C.I.E 3. ระบบ Hunter ( L,a,b ) 4. ระบบ C.I.E.Lab ( L*,a*,b* )

ระบบการวัดค่าสี ระบบค่ามันเซลล์ ( munsell clor system ) ใช้ค่า 3 ค่าหลักคือ 1.Hue คือ ชื่อของสีหลัก แบ่งเป็น 100 สี ก. Principle Hues มี 5 สี ข. Inlermediate Hues มี 5 สี ค. Secomd Inlermediate Hues มี 10 สี ง. Special Inlcrmediate Hues มี 80 สี 2. Value คือ แสดงความสว่าง ( Lightness ) ของสีหรือปริมาณแสงสะท้อนออกจากวัตถุ ค่า Value แบ่งเป็น 0 – 10 โดยค่า 0 มืดที่สุดและค่า 10 สว่างที่สุด 3. Chroma คือค่าที่แสดงความบริสุทธิ์หรือสีที่บริสุทธิ์มากจะไม่มีแสงสีเทาปนเลย ซึ่งได้แก่สี หลัก ( Hues ) 100 สี มีความบริสุทธิ์ 13 ระดับ การแทนค่าสีมีระบบมันเซลล์แทนด้วย 3 ค่า คือ Hues Value / Chroma

ระบบการวัดค่าสี ( ต่อ ) ระบบค่าสี C.I.E เป็นการบอกค่าสีโดยการกำหนดต่ำแหน่งบนแผนภาพแสดงสี ซึ่งต่ำแหน่งที่ได้คือ x,y,z ระบบ Hunter ( L,a,b ) Hunter พัฒนาระบบการวัดค่าสีโดยกำหนดค่าแสดงสี คือ L,a,b L หมายถึง ค่าความสว่างมีค่า 0 – 100 0 หมายถึง สีมืดที่สุด 100 หมายถึง สว่างที่สุด a หมายถึง ค่าที่แสดงความเป็นสีแดง หรือเขียว +a หมายถึง แสดงความเป็นสีแดง -a หมายถึง แสดงความเป็นสีเขียว b หมายถึง ค่าที่แสดงความเป็นสีเหลือง หรือน้ำเงิน +b หมายถึง แสดงความเป็นสีเหลือง -b หมายถึง แสดงความเป็นสีน้ำเงิน

ระบบ C.I.E.Lab ( L*,a*,b* ) เมื่อกำหนด L* = 116 ( Y/Yn )1/3 -16 a* = 500 [ f ( X/Xn ) – f ( Y/Yn ) ] B* = 200 [ f( Y/Yn) – f ( Z/Zn ) ]