องค์กรไร้พุง โรงพยาบาลภูเวียง.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพการจัดการศึกษาตลอดชีวิต (โครงการเรียนรู้สู่อาเซียน)
Advertisements

จัดการความรู้/มุมมองแนวคิด CoP
การประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
คำอธิบาย ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555 สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555.
แผนการดำเนินงานของทีมบริหาร ด้านพัฒนาบุคลากร
การประเมินเพื่อประกาศเกียรติคุณ
การขับเคลื่อนองค์กรไร้พุง
เล่าเรื่อง หัวใจแห่งความสำเร็จ การส่งเสริมสุขภาพ
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
“ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ”
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
แนวทางการดำเนินงาน และ แผนการดำเนินงาน
ศูนย์อนามัยที่๔ ราชบุรี
โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
ผลงาน กองทันตสาธารณสุข (ตุลาคม2548 – กรกฎาคม2549)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
สรุปการประชุม เขต 10.
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 นพ. นิทัศน์ รายยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ปัจจัยแห่ง ความสำเร็จ ประสบการณ์ จริง แหล่งข้อมูล ประกอบด้วย 3 ส่วน.
งานโภชนาการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 10
สรุปบทเรียนโครงการแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
นิยาม Policy: ทิศทางของการกระทำที่ชัดเจนที่ได้ชี้นำและกำหนดการตัดสินใจ
ปี 2549 จากประชากรทั้งสิ้น ล้านคน เป็นผู้มีงานทำ ล้านคน
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
เกณฑ์การประเมิน องค์กรต้นแบบไร้พุง
โครงการ หมู่บ้าน/ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
พัฒนาองค์กรไร้พุง มุ่งสู่ความยั่งยืน
กรอบความคิดของ กลุ่ม 7 งานตามพันธกิจกรมอนามัย. Health Index สร้าง Health Agenda : ในชีวิตประจำวัน ( ถูก / ไม่ถูก, เกิดแล้ว / ยังไม่เกิด, จวนจะเกิด / กำลังจะเกิด.
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
วิสัยทัศน์ อบต. หนองหญ้า “ ส่งเสริมการศึกษา พัฒนาแหล่งน้ำ เสริมสร้างคุณภาพชีวิต ชุมชนเข้มแข็ง แหล่งท่องเที่ยวก้าวไกล สืบสานวัฒนธรรมไทย การบริหาร โปร่งใส.
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
ผู้ที่มีค่าดัชนีมวลกาย
นโยบายยางน้อยสุขภาพดี ไม่มีพุง
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การบริหารและพัฒนาบุคลากร HR /HRD
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
สกลนครโมเดล.
ตกลง บริการ ประเมิน ปัญหา หา แนวทาง แก้ไข ติดตาม ประเมินผล Self Assessmemt ---> ประเมิน ความรู้, พฤติกรรมสุขภาพ ----> ก้างปลาปัญหา ----> Recall อาหาร 24.
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี
ศูนย์อำนวยการจราจร และลดอุบัติเหตุทางถนน ตำรวจภูธรจังหวัดบุรีรัมย์
นโยบายองค์การบริหารส่วนตำบลศิลา อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น เรื่อง การสร้างสุขภาพประชาชน ในเขต อบต. ศิลา “ คนศิลากินดี อยู่ดี สุขภาพแข็งแรง ไม่มี ภาวะอ้วนลงพุง.
ผู้อำนวยการสถานศึกษา, รองผู้อำนวยการสถานศึกษา  ที่ปรึกษาโครงการฯ โครงการเสริมสร้างศักยภาพฯ ( แบ่งเป็น 4 กิจกรรมหลัก ) เกษตร สหกรณ์ โภชนาการ สุขภาพ -
การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ จังหวัดอุบลราชธานี นางปริญญา ผกานนท์ นักวิชาการสาธารณสุข 8 ว.
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
โครงการ พัฒนางาน 5 ส ภายใต้โครงการพัฒนาบุคลากรสู่องค์กรแห่ง ความสุข.
รายงานความก้าวหน้าการตรวจติดตามประเมิน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

องค์กรไร้พุง โรงพยาบาลภูเวียง

“ภูเวียงรวมใจ หมอน้อย หมอใหญ่ ไร้พุง หุ่นดี” ภายใต้โครงการ “ภูเวียงรวมใจ หมอน้อย หมอใหญ่ ไร้พุง หุ่นดี”

การเตรียมการ ก.พ.51 ประชุมคนไทยไร้พุงครั้งแรก มหาสารคาม ก.พ.51 ประชุมคนไทยไร้พุงครั้งแรก มหาสารคาม มิ.ย.51 Training for the Trainer กรมอนามัย ก.ค.51 รับนโยบายจาก สสจ. ส.ค.51 รับแนวทางการดำเนินงาน จาก ศูนย์อนามัยที่ 6 , สสจ ขอนแก่น

รายงานผู้บริหาร เกี่ยวกับนโยบาย / รูปแบบการดำเนินงาน รายงานผู้บริหาร เกี่ยวกับนโยบาย / รูปแบบการดำเนินงาน

จัดทำคำสั่งโรงพยาบาลภูเวียง แต่งตั้งคณะกรรมการปฏิบัติงานในโครงการ “ ภูเวียงรวมใจ หมอน้อย หมอใหญ่ ไร้พุง หุ่นดี ”

แจ้งหัวหน้าฝ่าย / หัวหน้างาน / คณะกรรมการบริหารรับฟังการชี้แจงโครงการ

เชิญคณะกรรมการประชุม เชิญคณะกรรมการทั้ง 2 ชุด อำนวยการ ดำเนินงาน เข้าร่วมประชุม 13 สิงหาคม 2551

กำหนดนโยบายสาธารณะ โดยคณะกรรมการ บุคลากรทุกคนมีการออกกำลังกายตามวิถี 5 วัน/สัปดาห์ เวลา 16.30 – 17.30 น. ณ สนามกีฬาโรงพยาบาล บุคลากรที่ไม่สามารถออกกำลังกายที่โรงพยาบาลได้ ให้มีกิจกรรมออกกำลังกายตามวิถีที่บ้าน อย่างน้อย 5 วัน ใน 1 สัปดาห์ ครั้งละ 30 นาที โรงพยาบาลภูเวียงจัดให้มีสนามกีฬา อุปกรณ์กีฬา ที่เพียงพอให้บุคลากรได้ออกกำลังกาย บุคลากรที่ร่วมโครงการ มีการบันทึกข้อมูลการเปลี่ยนแปลงน้ำหนักและรอบเอวของตนเองเดือนละ 1 ครั้ง และนำมาสรุปประเมินผลเมื่อสิ้นสุดโครงการ

กำหนดนโยบายสาธารณะ โดยคณะกรรมการ โรงพยาบาลภูเวียงส่งเสริม สนับสนุน ให้บุคลากร ทีมนำด้านสุขภาพได้รับการพัฒนาความรู้ ทักษะ อย่างต่อเนื่อง หน่วยงานโภชนาการของโรงพยาบาลจัดข้าวกล้องและเมนูอาหารสุขภาพแก่บุคลากรและผู้รับบริการและจัดอาหารว่างเป็นเมนูสุขภาพ เมื่อมีการจัดอบรม ประชุมภายในโรงพยาบาล บุคลากรได้รับการถ่ายทอดความรู้เรื่องอาหาร อารมณ์และการออกกำลังกาย 100 % โดยการอบรมวิชาการ อบรมภาคปฏิบัติ โรงพยาบาลภูเวียง ไม่อนุญาตให้จำหน่ายสินค้าทุกชนิดในโรงพยาบาล บุคลากรโรงพยาบาลภูเวียง ลด/งด อาหาร หวาน มัน เค็ม

ผลการวัดรอบเอว วัดรอบเอวครั้งที่ 1 181 คน รอบเอวเกินมาตรฐาน ชาย 18 คน วัดรอบเอวครั้งที่ 1 181 คน รอบเอวเกินมาตรฐาน ชาย 18 คน หญิง 42 คน ชาย มากที่สุด 114 ซม. หญิง มากที่สุด 109 ซม.

นำข้อมูลรอบเอว , พฤติกรรม จากแบบประเมินมาจัดกิจกรรมรองรับ

ประชาสัมพันธ์โครงการและข้อมูลบุคลากร ผ่านเสียงตามสายของโรงพยาบาล สร้างกระแส 1.เน้นการประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องภายในองค์กร โดยผ่านเสียงตามสายของโรงพยาบาลทุกวัน 2.บุคลากรทีมนำส่วนใหญ่เป็นผู้สนใจเรื่องการดูแลสร้างเสริมสุขภาพ เป็นผู้มีภาพลักษณ์ที่เหมาะสม การประชาสัมพันธ์ผ่านต่อบุคคลเหล่านี้จะชัดเจน และจูงใจบุคลากรได้มาก เช่น ผอ. หัวหน้าฝ่ายเวชกรรมชุมชน กลุ่มการพยาบาล กรรมการโครงการ เป็นต้น

ประชาสัมพันธ์โครงการและข้อมูลบุคลากร ผ่านเสียงตามสายของโรงพยาบาล สร้างกระแส 3. จัดมุมพุงยุบได้ทอง พุงป่องได้โรคไว้เพื่อกระตุ้นให้บุคลากรได้ตระหนักและทำกิจกรรม 4. บุคลากรมีการรวมตัวกันเป็นกลุ่มสุขภาพ เช่น กลุ่มเมนูชูสุขภาพ จัดอาหารกลางวันร่วมกันและรับประทานร่วมกัน โดยเน้นอาหารสุขภาพ 5. จัดทำเอกสารคู่มือวัดรอบเอว ชั่งน้ำหนัก สำหรับบุคลากรทุกคน ให้บันทึกและประเมินการเปลี่ยนแปลงของตนเองทุกเดือน 6. การจัดหาของขวัญ รางวัล เป็นแรงจูงใจ ขวัญกำลังใจสำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรมและมีผลงานดีเด่น

จัดมุม “ ไร้พุง” ที่ฝ่ายเวชกรรมภายใต้ แนวคิด “ พุงยุบได้ทอง พุงป่องได้โรค ”

สรุปผลโครงการ หลังดำเนินการครบ 6 เดือน พบว่า รอบเอวของบุคลากร ประเมินทั้งหมด 172 คน ( อีก 10 คน ย้าย , ลาออก , เกษียณ , ตั้งครรภ์ ) มีการเปลี่ยนแปลงดังนี้

กลุ่มรอบเอวปกติ กลุ่มรอบเอวปกติ 114 คน พบว่า รอบเอวลดลงจากเดิม 57 คน กลุ่มรอบเอวปกติ 114 คน พบว่า รอบเอวลดลงจากเดิม 57 คน รอบเอวเท่าเดิม 14 คน รอบเอวเพิ่มขึ้นแต่ไม่เกินมาตรฐาน 38 คน รอบเอวเพิ่มขึ้นและเกินมาตรฐาน 5 คน ลดลงมากที่สุด 5 ซม. เพิ่มมากที่สุด 8 ซม. สรุป กลุ่มรอบเอวปกติ + รักษาระดับ + รอบเอวเพิ่มขึ้นแต่ไม่เกินมาตรฐาน เท่ากับ 105 คน คิดเป็น 95.6 % ( เป้าหมาย 100 % )

กลุ่มรอบเอวเกินมาตรฐาน กลุ่มรอบเอวเกินมาตรฐาน 58 คน พบว่า รอบเอวลดลง 37 คน รอบเอวเท่าเดิม 6 คน รอบเอวเพิ่มขึ้น 15 คน - ลดได้มากที่สุด 5 อันดับแรก 14.5 , 11 , 9.5 , 8 , 7 ซม. ตามลำดับ - เพิ่มมากที่สุด 5 ซม. สรุป กลุ่มรอบเอวเกินมาตรฐาน ลดรอบเอวได้ 74.1 % ( เป้าหมาย 80 % )

สวัสดี