โครงการโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส สำนักโภชนาการ กรมอนามัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
Advertisements

กิจกรรม อย.น้อย โรงเรียนบ้านม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี
บูรณาการสู่ความสำเร็จ
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามกุฎราชกุมาร นางลาวัลย์ ฉัตรวิรุฬห์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์เกษตร.
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
การจัดทำโครงการเฉลิมพระเกียรติ
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
แผนภูมิโครงสร้างส่วนราชการของกระทรวงสาธารณสุข
ตำบลนมแม่ โมเดลการพัฒนาเด็กแบบองค์รวม
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
บทบาทหน้าที่ผู้ตรวจราชการกรม
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดลพบุรี วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
การประเมินเพื่อประกาศเกียรติคุณ
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
เป้าหมายการบริการ กรมอนามัย ปี 2548
การขับเคลื่อนองค์กรไร้พุง
เล่าเรื่อง หัวใจแห่งความสำเร็จ การส่งเสริมสุขภาพ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
การกำหนดเกณฑ์ ประเมินคุณภาพภายใน
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
นายแพทย์สมพงษ์ สกุลอิสริยาภรณ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
วิธีการพัฒนาสถานศึกษาพอเพียงเป็นศูนย์การเรียนรู้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
หลักการ และแผนงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด ปีงบประมาณ 2551 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 20 กรกฎาคม 2550.
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
แนะนำคู่มืออบรมหลักสูตร
กรมอนามัย ในบทบาทโครงการ
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
จุดประกายการพัฒนาศักยภาพโรงเรียนเด็กไทยแก้มสและบนบาทของทีมวิทยากรระดับเขต วันที่ 5 มกราคม 2557 โรงแรมเอเชีย แอร์พอร์ท โดย สง่า ดามาพงษ์
ชุดเรียนรู้สร้างเสริมสุขภาพช่องปากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6
สถานการณ์การดำเนินงานปี 2557 และ ทิศทางการดำเนินงานปี 2558
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
  โครงการและกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามราชกุมารี
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
โปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี
ชี้แจงหลักเกณฑ์การโอนเงิน ระเบียบการเบิก-จ่ายงบประมาณ
เป้าประสงค์ มีระบบและกลไกการบริหารจัดการที่ดีด้านอาหารและโภชนาการในระดับท้องถิ่น เกิดศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บ้านรับเลี้ยงเด็ก โรงเรียน และชุมชนที่พึงประสงค์ด้านโภชนาการ.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส สำนักโภชนาการ กรมอนามัย น.ส.วรลักษณ์ คงหนู สำนักโภชนาการ กรมอนามัย

วัตถุประสงค์โครงการฯ เพื่อเจริญรอยตามพระยุคลบาท สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โดยการน้อมนำรูปแบบที่ดี “ด้านการจัดการอาหาร โภชนาการและสุขภาพนักเรียนอย่างครบวงจร ในโครงการพระราชดำริฯ” มาปฏิบัติและพัฒนาโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส

ระยะเวลาดำเนินงาน ปีที่ดำเนินการ เป้าหมาย ปีที่ 1 : ก.ค.57-ก.ย. 58 โรงเรียน ปีที่ 2 : ต.ค. 58 – ก.ย. 59 1,800 โรงเรียน ปีที่ 3 : ต.ค. 58 – ก.ย. 60 5,400 โรงเรียน

6. โรงเรียนพัฒนางานตามกิจกรรมที่เลือก (ธ.ค. 57 – มี.ค. 58) กิจกรรมสำคัญ ปีที่ 1 : 1. กำหนดยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนงาน (มิ.ย.- ก.ค.57) 2. พัฒนาชุดความรู้ สื่อ นวัตกรรมและหลักสูตรอบรม (พ.ค.- ต.ค.57) 3. รับสมัคร คัดเลือก และแจ้งผลโรงเรียน (ก.ค.- ส.ค.57) 4.ร่วมกับ สสส./ศธ.จัดเวที Policy advocacy : เปิดตัวโครงการ/โรงเรียนจัดทำข้อเสนอขอรับทุน (21 ต.ค.57) 5. พัฒนาศักยภาพ บุคลากร (Training for the Trainer) (ธ.ค.57) 6. โรงเรียนพัฒนางานตามกิจกรรมที่เลือก (ธ.ค. 57 – มี.ค. 58) 8. ร่วมกับ สสส./ศธ.จัดเวทีวิชาการ /ขยายผล/ขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ (เม.ย.-ก.ย.58) 7. นิเทศ ติดตาม และ ประเมินผลแบบเสริมพลัง (ม.ค. – มี.ค.58)

จำนวนโรงเรียนที่สมัครใจเข้าร่วมโครงการฯ ปีที่ 1 หน่วยงานที่รับผิดชอบ จำนวนโรงเรียนทั้งหมด จำนวนโรงเรียนจำแนกตามสังกัด สพฐ. เทศบาล + อบต. เอกชน กทม. 9 - ศูนย์อนามัยที่ 1 บางเขน 32 27 3 2 ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรี 13 ศูนย์อนามัยที่ 3 ชลบุรี 61 46 7 8 ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี 34 28 5 1 ศูนย์อนามัยที่ 5 นครราชสีมา 105 98 4 ศูนย์อนามัยที่ 6 ขอนแก่น 41 30 ศูนย์อนามัยที่ 7 อุบลราชธานี 110 102 ศูนย์อนามัยที่ 8 นครสวรรค์ 35 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 59 49 ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่ 96 77 6 ศูนย์อนามัยที่ 11 นครศรีธรรมราช 70 ศูนย์อนามัยที่ 12 ยะลา 60 50 รวม 725 611 67 38

งบประมาณสนับสนุนโรงเรียน (ไม่เกิน 60,000 บาท) สังกัด ผู้รับผิดชอบ จัดโอนงบประมาณ 1. โรงเรียนสังกัด สพฐ. 611 โรงเรียน สพฐ. 2. โรงเรียนสังกัด - อปท. 67 โรงเรียน - เอกชน 38 โรงเรียน - กทม. 9 โรงเรียน แผนอาหารเพื่อ สุขภาวะ สสส.

เงื่อนไขการใช้งบประมาณ งบประมาณที่สนับสนุนนำไปใช้อะไรได้บ้าง ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานตามกิจกรรมที่ระบุในแผนงาน/โครงการที่ได้รับอนุมัติจาก สสส. งบประมาณที่สนับสนุนไม่สามารถใช้ได้ในกรณี ?? - จัดซื้อครุภัณฑ์ - ใช้ซ่อมแซมอาคาร สถานที่

เรียนรู้จากการปฏิบัติ กรอบแนวคิด การจัดการอาหารและสุขภาพแบบครบวงจรในโรงเรียน ตามรอยพระยุคลบาท สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เป็นคนมีคุณภาพ “ผลการเรียนดี มีโภชนาการสมวัย มีจิตใจสาธารณะ ชุมชน ชุมชน ความรู้โภชนาการ อาหารปลอดภัย ได้รับพลังงาน สารอาหารที่ครบถ้วนเหมาะสมตามวัย ครัวเรือน มีความมั่นคงทางอาหาร อยู่ดีกินดี พึ่งตนเอง สร้างความ เข้มแข็ง เป็นเจ้าของ โรงเรียน ความรู้และทักษะ เกษตรผสมผสาน สหกรณ์ ไทย วิทย์ คณิต มีสุขนิสัยที่ดี และมีจิตสาธารณะในการดูแลอนามัยสิ่งแวดล้อม เรียนรู้จากการปฏิบัติ ความรู้ เทคโนโลยี ถ่ายทอด สู่ครัวเรือน สหกรณ์นักเรียน อาหารกลางวัน เกษตรผสมผสาน การมีส่วนร่วมของชุมชน ชุมชน ชุมชน

องค์ประกอบของการพัฒนาอาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัยในโรงเรียน 5. การพัฒนาสุขนิสัย และการส่งเสริมสุขภาพ อนามัยนักเรียน นิสัยการกิน สุขนิสัยที่ดี ออกกำลังกาย การติดตามภาวะโภชนาการ สมรรถภาพทางกาย และสุขภาพ นักเรียน -ฐานข้อมูล -แปลผล -ใช้ข้อมูลในการพัฒนางาน การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน อาคารเรียน บริเวณโรงเรียน โรงอาหาร โรงครัว ห้องน้ำ ฯลฯ “ผลการเรียนดี มีโภชนาการสมวัย มีจิตใจสาธารณะ จัดบริการสุขภาพนักเรียน -ตรวจความสะอาดร่างกาย -ปฐมพยาบาล -หนอนพยาธิและ มาลาเรีย 3. การจัดบริการอาหาร ตามหลักโภชนาการ ตามหลักสุขาภิบาล อาหารปลอดภัย ใช้เกลือไอโอดีน การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ เกษตร โภชนาการ และสุขภาพ -เกษตรผสมผสาน -สุขบัญญัติ, โภชนบัญญัติ -สุขาภิบาลอาหาร, ออกกำลังกาย -ฯลฯ 2. สหกรณ์นักเรียน -สหกรณ์ร้านค้า -ออมทรัพย์ -ส่งเสริมการเกษตร 1. เกษตรในโรงเรียน -ปลูกพืชผัก ผลไม้ เพาะเห็ด -เลี้ยงสัตว์, ประมง ฯลฯ ขยายผลสู่ชุมชน

กิจกรรมสำคัญและตัวชี้วัดความสำเร็จ ตัวชี้วัดกระบวนการ 1. เกษตรในโรงเรียน 1.1 การเกษตรแบบผสมผสานตามบริบทของพื้นที่ -การปลูกพืชผัก ผลไม้หลากหลายชนิด -การเพาะเห็ด -การเลี้ยงสัตว์ -การประมง -การใช้ชีววิธีในการผลิต ลงมือปฏิบัติโดยนักเรียน ครู ชุมชน โดยมีเกษตร ประมง ปศุสัตว์เป็นที่ปรึกษา มีการผลิตทางเกษตร และหรือปศุสัตว์/ประมง โดยการมีส่วนร่วมของนักเรียนและชุมชน มีการจัดทำแผนการผลิตทางการเกษตร/ปศุสัตว์/ประมงที่สอดคล้องกับรายการอาหารกลางวันนักเรียน มีการนำผลผลิตไปประกอบอาหารกลางวันนักเรียนในปริมาณไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของผลผลิตต่อปี มีการนำผลผลิตขายผ่านสหกรณ์ให้กับกิจกรรมอาหารกลางวันและหรือขายให้กับชุมชน

กิจกรรม ตัวชี้วัดกระบวนการ 2. กิจกรรมสหกรณ์นักเรียน 2.1 สหกรณ์ร้านค้า 2. กิจกรรมสหกรณ์นักเรียน 2.1 สหกรณ์ร้านค้า 2.2 สหกรณ์ออมทรัพย์ 2.3 การเชื่อมโยงกับการ พัฒนาในด้านต่างๆ เช่น การเกษตรในโรงเรียน 2.4 การจัดทำบัญชี ในแต่ละกิจกรรม มีกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนในรูปแบบร้านค้าและหรือออมทรัพย์/ส่งเสริมการผลิตทางการเกษตร มีนักเรียนเป็นสมาชิกสหกรณ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีแกนนำนักเรียนดำเนินการกิจกรรมสหกรณ์และการจัดทำบัญชีการค้าขาย ในทุกกิจกรรม มีการตรวจสอบการดำเนินกิจกรรม สหกรณ์แบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน

กิจกรรม ตัวชี้วัดกระบวนการ 3. การจัดบริการอาหารโรงเรียน 3. การจัดบริการอาหารโรงเรียน 3.1 แนวทางการจัดบริการอาหารตามมาตรฐานโภชนาการ สุขาภิบาลอาหาร และอาหารปลอดภัย 3.2 การประเมินคุณภาพอาหารที่เชื่อมโยงกับภาวะโภชนาการ สมรรถภาพทางกาย และสุขภาพ มีการจัดทำรายการอาหารหมุนเวียนอย่างน้อย 1 เดือนตามมาตรฐานโภชนาการ (โดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch) ที่สอดคล้องกับผลผลิตทางการเกษตร/ปศุสัตว์/ประมงของโรงเรียนและหรือชุมชน มีการปรุง ประกอบอาหารถูกหลักโภชนา การ สุขาภิบาล และอาหารปลอดภัย มีการตักอาหารให้นักเรียนตามปริมาณและสัดส่วนของธงโภชนาการที่เหมาะสมกับวัย อาหารกลางวันของนักเรียนมีปริมาณพลังงานและสารอาหารครบถ้วนหรือ อย่างน้อยร้อยละ 70 ของความต้องการฯ

แผนภูมิการบริหารจัดการอาหารในโรงเรียน 2. จัดทำรายการอาหารหมุนเวียน อย่างน้อย 1 เดือน กำหนด ปริมาณวัตถุดิบอาหาร ราคาอาหาร ปริมาณพลังงานและสารอาหารเหมาะสมตามวัย 1. สร้างความเข้าใจ เรื่องอาหารและ โภชนาการระหว่างครู แม่ครัว แกนนำ นักเรียน และ ผู้ปกครอง 3. จัดทำทะเบียนวัตถุดิบ อาหารที่สอดคล้องกับ ผลผลิตเกษตรปลอดภัยใน ชุมชนและครัวเรือนตาม ฤดูกาล สร้างเศรษฐกิจชุมชน และความมั่นคงทางอาหาร อย่างยั่งยืน ปรุง ประกอบอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ สุขาภิบาล อาหาร และอาหารปลอดภัย แม่ครัว : ได้รับการอบรมด้านการจัดการอาหารและ โภชนาการ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง : ได้รับการตรวจสุขภาพประจำปีด้านการสัมผัส อาหารทุกปี 4. จัดซื้อวัตถุดิบอาหารตามรายการ และปริมาณที่กำหนด โดยมีแกนนำ ชุมชน/ผู้ปกครองร่วมเป็น คณะกรรมการตรวจรับและตรวจสอบ คุณภาพอาหารทุกวัน 8. ประเมินผลคุณภาพอาหาร ที่เชื่อมโยงกับข้อมูล พฤติกรรมการกิน ภาวะ โภชนาการ และสุขภาพของ เด็ก อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง โดยชุมชนมีส่วนร่วม และนำ ผลการประเมินสื่อสารสู่ สังคม และพัฒนางาน 6. ตักอาหารให้เด็กมีสัดส่วน และปริมาณที่เพียงพอตาม คำแนะนำในธงโภชนาการ และใช้อุปกรณ์การบรรจุ อาหารที่ถูกหลักสุขาภิบาล อาหารและอาหารปลอดภัย 7. บูรณาการและสอดแทรก ความรู้ด้านอาหารและ โภชนาการสู่หลักสูตรการ เรียนการสอนทั้งในและนอก ห้องเรียน เพื่อส่งเสริม ความรู้ ทักษะ และปรับ พฤติกรรมการกินของเด็ก

กิจกรรม ตัวชี้วัดกระบวนการ การติดตามภาวะโภชนาการ สมรรถภาพทางกายนักเรียน และสุขภาพ มีฐานข้อมูลน้ำหนัก ส่วนสูง สมรรถภาพทางกาย และภาวะสุขภาพของนักเรียนทุกคน มีการแปลผลภาวะโภชนาการ สมรรถภาพทางกาย และภาวะสุขภาพที่ถูกต้องตามเกณฑ์ชี้วัดและมีการนำข้อมูลไปใช้ในการจัดทำโครงการ/กิจกรรมแก้ไขปัญหา โดยครอบครัวมีส่วนร่วม เด็กกลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามทุกเดือน เด็กสามารถประเมินภาวะโภชนาการ สมรรถภาพทางกาย และสุขภาพได้ด้วยตนเอง

กิจกรรม ตัวชี้วัดกระบวนการ 5. การพัฒนาสุขนิสัย และการส่งเสริมสุขภาพ 5. การพัฒนาสุขนิสัย และการส่งเสริมสุขภาพ อนามัยนักเรียน 5.1 สุขบัญญัติแห่งชาติ 10 ประการ 5.2 การดูแลสุขภาพ ช่องปาก 5.3 พัฒนาการทางเพศ และสุขอนามัย มีการจัดทำแผนกิจกรรมการพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพนักเรียนที่ครอบคลุมสุขนิสัยในด้านต่างๆ นักเรียนมีการปฏิบัติตามแผนกิจกรรมที่วางไว้ครอบคลุมทุกกิจกรรม โรงเรียนมีการติดตามและประเมินผลสุขนิสัยนักเรียน นักเรียนแกนนำสามารถจัดกิจกรรมพัฒนาสุขนิสัยและติดตามประเมินผลด้วยตนเอง

กิจกรรม ตัวชี้วัดกระบวนการ การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน 6.1 สภาพ แวดล้อมในอาคารและโรงเรียน 6.2 คุณภาพน้ำ 6.3 ห้องส้วม 6.3 การจัดการขยะ และน้ำเสีย 6.4 การควบคุมและ กำจัดแมลงและ สัตว์พาหะนำโรค 6.5 การจัดสิ่งแวดล้อม ปลอดภัย 1. มีกิจกรรมการพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน เช่น ทำความสะอาดห้องเรียน ห้องส้วม 2. มีการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม (น้ำดื่มสะอาด การจัดการขยะ ส้วมที่ถูกสุขลักษณะ) มีความร่วมมือระหว่างโรงเรียน ชุมชน และเครือข่ายท้องถิ่นในการพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน มีการจัดบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมและเพียงพอกับนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน - น้ำดื่มที่สะอาด - ที่ล้างมือ - ห้องส้วม - การจัดการขยะ แมลง สัตว์นำโรค - ความสะอาด ปลอดภัย

กิจกรรม ตัวชี้วัดกระบวนการ การจัดบริการสุขภาพนักเรียน 7.1 การปฐมพยาบาลเบื้องต้น และห้องพยาบาล และบริการสุขภาพ 7.2 การตรวจพยาธิ 7.3 การตรวจวินิจฉัยมาลาเรีย มีห้องปฐมพยาบาลที่ถูกสุขลักษณะได้มาตรฐาน และมีครูอนามัยหรือครูพยาบาลรับผิดชอบดูแลตลอดเวลา 2. มีนักเรียนแกนนำร่วมรับผิดชอบในการให้บริการสุขภาพ 3. นักเรียนทุกคนได้รับการตรวจสุขภาพเบื้องต้นตามมาตรฐานบริการสุขภาพ นักเรียนกลุ่มเสี่ยงหรือที่มีปัญหาสุขภาพทุกคนได้รับความช่วยเหลือแก้ไขเบื้องต้นอย่างเหมาะสม โดยมีการส่งต่อตามระบบการส่งต่อช่วยเหลือนักเรียน

กิจกรรม ตัวชี้วัดกระบวนการ การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการด้านเกษตร โภชนาการ และสุขภาพ มีแผนการจัดการเรียนรู้ แบบบูรณาการด้านเกษตร อาหาร โภชนาการ และสุขภาพ ทั้งในและนอกห้องเรียนในทุกช่วงชั้น มีการจัดการการเรียนการสอนแบบบูรณาการด้านเกษตร โภชนาการ และสุขภาพ อย่างน้อย 40 ชั่วโมงต่อปี มีการประเมินความรู้และทักษะนักเรียนด้านเกษตร โภชนาการ และสุขภาพปีละ 2 ครั้ง มีสื่อ นวัตกรรม ชุดความรู้ และฐานการเรียนรู้ของโรงเรียนและหรือชุมชนด้านเกษตร โภชนาการ และสุขภาพที่เกิดจากผลงานของครู นักเรียน ครอบครัว และชุมชน

กิจกรรม ตัวชี้วัดกระบวนการ การบริหารจัดการโครงการ - บุคลากร - การจัดการข้อมูลสารสนเทศ - การติดตาม ประเมินผล - การสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง บุคลากรในโรงเรียนทุกระดับมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน มีระบบข้อมูลสารสนเทศที่เป็นปัจจุบัน สามารถนำมาใช้ในการจัดการเชิงนโยบายเพื่อการพัฒนางานต่อเนื่อง มีระบบติดตาม ประเมินผลแบบเสริมพลังอย่างมีส่วนร่วม มีการนำข้อมูลและผลการดำเนินงานไปจัดทำแผนชุมชน/แผนพัฒนาท้องถิ่น/เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานโครงการเด็กไทยแก้มใสทั้ง ในระยะสั้นและระยะยาว

สิ่งสนับสนุน คู่มือ ผู้ใช้ 1. คู่มือการบริหารจัดการด้านอาหาร 1. คู่มือการบริหารจัดการด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพ ผู้บริหารโรงเรียน 2. คู่มือ/แนวทางการปฏิบัติงาน ด้านเกษตร สหกรณ์ โภชนาการ และสุขภาพ ครู และผู้ปฏิบัติงาน ในโรงเรียน 3. หลักสูตรอบรมด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพ สำหรับ ทีมวิทยากรระดับจังหวัด-เขต นักวิชาการจาก ศูนย์อนามัย สพป.เขต สสจ. เกษตร/ปศุสัตว์ /ประมงจังหวัด อปท. (ทีมวิทยากร) 4. คู่มือการประเมินตนเองเพื่อติดตามและประเมินผลโรงเรียน ผู้บริหารโรงเรียน นักวิชาการระดับจังหวัด เขต ส่วนกลาง

ตัวอย่าง สื่อ นวัตกรรม ทางเลือก สำหรับโรงเรียน ตัวอย่าง สื่อ นวัตกรรม ทางเลือก สำหรับโรงเรียน คู่การจัดบริการอาหาร คู่มือบริหารจัดการ คู่มือสำหรับผู้บริหาร ทันต สุขภาพ โปรแกรมติดตามการเจริญเติบโต และโปรแกรมประเมินสมรรถภาพทางกาย กรมอนามัย ฉลากโภชนาการ Thai School Lunch สถาบันโภชนาการ มหิดล ชุดเรียนรู้การจัดการเกษตร โภชนาการฯ ชุดเรียนรู้ฯ

ระบบรายงานต้องทำอะไรบ้าง : เน้นการประเมินตนเองเพื่อใช้ข้อมูลในการพัฒนา และรายงานตามระบบที่มีอยู่ 1. ภาวะโภชนาการนักเรียน 2. สมรรถภาพทางกายของนักเรียน 3. ภาวะสุขภาพนักเรียน เช่น ฟันผุ เหา 4. การได้ยิน สายตา การระบาดของอาหาร เป็นพิษ ฯลฯ 5. ความก้าวหน้าของกระบวนการดำเนินงาน ในแต่ละกิจกรรมที่โรงเรียนเลือกดำเนินการ

ตัวชี้วัดเพื่อใช้ติดตามความสำเร็จการดำเนินงาน ตัวชี้วัดผลลัพธ์ ค่าเป้าหมายของโครงการฯ ปี 58 - 60 สถานการณ์ของโรงเรียน ณ มิ.ย.57 ค่าเป้าหมายของโรงเรียน ปี 2558 ภาวะโภชนาการนักเรียน (อ้วน ผอม เตี้ย) ลดลง อย่างน้อย ร้อยละ 0.5 ต่อปี เมื่อเทียบกับสถานการณ์เดิมของโรงเรียน ………………… ……………. สมรรถภาพ ทางกาย ร้อยละ 70 …………….. 3. สุขภาพด้านอื่นๆ ของนักเรียน - โรคฟันผุ เหา การได้ยินและ สายตา ฯ

………………… ……………. 1. เกษตรในโรงเรียน ตัวชี้วัดกระบวนการ ค่าเป้าหมายของโครงการฯ ปี 58 - 60 สถานการณ์ของโรงเรียน ณ มิ.ย.57 ค่าเป้าหมายของโรงเรียน ปี 2558 1. เกษตรในโรงเรียน ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานอยู่ที่ระดับ 4 ………………… ……………. มีการผลิตทางเกษตร และหรือปศุสัตว์/ประมง โดยการมีส่วนร่วมของนักเรียนและชุมชน มีการจัดทำแผนการผลิตทางการเกษตร/ปศุสัตว์/ประมงที่สอดคล้องกับรายการอาหารกลางวันนักเรียน มีการนำผลผลิตไปประกอบอาหารกลางวันนักเรียนในปริมาณไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของผลผลิตต่อปี มีการนำผลผลิตขายผ่านสหกรณ์ให้กับกิจกรรมอาหารกลางวันและหรือขายให้กับชุมชน

แบบฟอร์ม การจัดทำข้อเสนอ โครงการโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส แบบฟอร์ม การจัดทำข้อเสนอ โครงการโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส กำหนดส่ง ภายในวันที่ 31 ตุลาคม 2557

ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1. ชื่อโครงการ........................ ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1. ชื่อโครงการ........................ ชื่อโรงเรียนที่เสนอโครงการ ……… ที่อยู่……………..เบอร์โทร............... 2. ชื่อผู้รับผิดชอบโครงการ................... และข้อมูลการติดต่อ

ส่วนที่ 2 ข้อมูลแผนงาน/โครงการ 3. ความเป็นมา/หลักการและเหตุผล สถานการณ์ด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพของโรงเรียน ........................................................... บทเรียนความสำเร็จในการจัดการปัญหาอาหาร โภชนาการ และสุขภาพของโรงเรียนที่ผ่านมาทำอย่างไร ผลลัพธ์เป็นเช่นไร ปณิธานอย่างมุ่งมั่นในการเจริญรอยตาม พระยุคลบาท ในการน้อมนำรูปแบบการบริหารจัดการที่ดีด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพของนักเรียนอย่างครบวงจร มาปฏิบัติภายใต้โครงการโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส

4. กรอบแนวคิดการดำเนินงาน (Conceptual Framework) และการอธิบายแนวคิดหลัก ในส่วนนี้จะมีหรือไม่มีก็ได้ ตัวอย่างกรอบแนวคิด

5. วัตถุประสงค์ของโครงการและตัวชี้วัด 5.1 วัตถุประสงค์ทั่วไป เพื่อเจริญรอยตามพระยุคลบาท สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โดยการน้อมนำรูปแบบที่ดี “ด้านการจัดการอาหาร โภชนาการและสุขภาพนักเรียนอย่างครบวงจรในโครงการพระราชดำริฯ” มาปฏิบัติและพัฒนาโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส 5.2 วัตถุประสงค์เฉพาะ โรเรียนกำหนดเอง โดยให้สอดคล้องกับกิจกรรมที่ต้องการดำเนินการ

5.3 ตัวชี้วัดผลลัพธ์/กระบวนการ ........... 5.3 ตัวชี้วัดผลลัพธ์/กระบวนการ ........... 6. กลุ่มเป้าหมาย ……………………. 7. ระยะเวลาดำเนินงาน : 1 ปี วันเริ่มดำเนินการ วันที่.....เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2557   วันสิ้นสุดโครงการ วันที่......เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2558

8. กิจกรรมการดำเนินงาน / แผนการดำเนินงาน ปีที่ 1 ช่วงเวลาที่จัดกิจกรรม (ธันวาคม 2557 – พฤศจิกายน 2558) ชื่อแผนงาน/กิจกรรม ผลลัพธ์/ผลผลิต ช่วงเวลาที่จัดกิจกรรม งบ ประ มาณ ธ.ค.57-มี.ค.58 เม.ย.-ก.ค.58 ส.ค.-พ.ย.58 งบดำเนินการ กิจกรรม.................. กิจกรรม................... งบบริหารจัดการ 1……………….. 2………………… รวมงบประมาณที่ขอสนับสนุนจาก สสส. ภายในวงเงิน 60,000 บาท หมายเหตุ : งบประมาณพิจารณาจากกิจกรรมการดำเนินงาน

10. ภาคี/องค์กร/ชุมชน/สมาคม ที่ร่วมสนับสนุนการดำเนินงาน 9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ ……………………………………………… 10. ภาคี/องค์กร/ชุมชน/สมาคม ที่ร่วมสนับสนุนการดำเนินงาน ลำดับที่ ชื่อหน่วยงาน บทบาทหน้าที่ 1. รพ.สต............... เป็นที่ปรึกษา/พี่เลี้ยง นิเทศ ติดตาม 2. ประมงอำเภอ ร่วมเป็นคณะทำงาน สนับสนุนพันธุ์สัตว์น้ำ 3. องค์การบริหารส่วนจังหวัด สนับสนุนทุน/ทรัพยากร ร่วมเป็นคณะกรรมการประเมินผลการดำเนินงาน

วิธีการติดตามประเมินผล เครื่องมือในการติดตาม ผู้มีบทบาท ในการติดตาม 11. การติดตามและประเมินผล กิจกรรม วิธีการติดตามประเมินผล เครื่องมือในการติดตาม ผู้มีบทบาท ในการติดตาม ระยะเวลาในการติดตาม

ตำแหน่งผู้บริหารสถาบันการศึกษา 12. ความมุ่งมั่นในการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กนักเรียน ข้าพเจ้ามีความมุ่งมั่นที่จะดำเนินการ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กนักเรียนที่ดีขึ้น ดังนี้ 1…………………………………………… 2…………………………………………… 3…………………………………………… 4…………………………………………... ลงชื่อ............................................... (……………………………………….) ตำแหน่งผู้บริหารสถาบันการศึกษา

ที่ปรึกษา/พี่เลี้ยงระดับเขต : ศูนย์อนามัยที่ 1-12 ศูนย์อนามัยที่ 1 บางเขน สิตา สุขเจริญ 0812706328 ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรี กอบแก้ว ขันตี 0846200466 ศูนย์อนามัยที่ 3 ชลบุรี ยุพา ชัยเพ๊ชร 0813994898 ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี ชัชฏาภรณ์ จิตตา 0898851025 ศูนย์อนามัยที่ 5 นครราชสีมา ณัฎฐิรา ทองบัวศิริไล 0894113211 ศูนย์อนามัยที่ 6 ขอนแก่น จารินี ยศปัญญา 0817990893 ศูนย์อนามัยที่ 7 อุบลราชธานี สิรภัทร สาระรักษ์ 0817256062 ศูนย์อนามัยที่ 8 นครสวรรค์ พจน์กาญจณ์ บัณฑิตวงศ์ 0889792426 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก ประทุม ยนต์เจริญล้ำ 0896436538 ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่ หทัยรัตน์ สามิบัติ 0866545098 ศูนย์อนามัยที่ 11 นครศรีธรรมราช รัตนาภรณ์ ชุมจินดา 0864793299 ศูนย์อนามัยที่ 12 ยะลา สุคนธ์ สุวรรณบันดิษฐ์ 0896921114

ที่ปรึกษา/พี่เลี้ยง กระทรวงศึกษาธิการ นายสุมนต์ ศิริธรรม สพป.สุราษฏ์ธานีเขต 1 0860415294 ดร.ทินกร พูลพุฒ สพป.พิจิตร เขต 2 0831612703 ว่าที่ร้อยโท ดร.สุเวศ กลับศรี สพป.นครศรีธรรมราช เขต 1 0897324994 ดร.สมเกียรติ ชิดไชสง สพป.ปทุมธานี เขต 2 ดร.กนิษฐา ทองเลิศ สพป.อุบลราชธานี เขต 4 0819991895 ดร.อภิชาติ เลนะนันท์ สพป.สมุทรสงคราม 0817544590 ดร.เกษมสันต์ มีจันทร์ โรงเรียนบ้านดงเกตุ 0819164656 นายพงศกรณ์ ทองคำ กลุ่มส่งเสริมการจัดการศึกษาตาก เขต 2 0806869896 น.ส.ประภาพรรณ วงศาโรจน์ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา 0854890302 นางพนอ อี้รักษา สำนักพัฒนากิจกรรมนักเรียน 0816361658 นางนภา พานน้อย นางอัจฉราภรณ์ ตั้งอุทัยสุข 0896690798

ที่ปรึกษาทางวิชาการส่วนกลาง นายสง่า ดามาพงษ์ โครงการเด็กไทยแก้มใส สสส. 0815664488 ผอ.จงกลนี วิทยารุ่งเรื่องศรี 0809772270 นายวุฒิพงษ์ ปรีดาภัทรพงษ์ สำนัก 5 สสส. 0843615509 น.ส.ถนอมพรรณ สืบจากดี กรมส่งเสริมการเกษตร 025614878-79 น.ส.วารินทร์ ศิติสาร กรมประมง 0897915292 น.ส.สุภาณี เพ็ชรรัตน์ 0818726930 นางกัญจนา ภัทรวนาคุปต์ กรมส่งเสริมสหกรณ์ 026693746 น.ส.พันธ์ทิพย์ จารุเสน กรมตรวจสอบบัญชีสหกรณ์ 026285769 รศ. จุฑาทิพย์ ภัทราวาท สถาบันวิชาการด้านสหกรณ์ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ 0818019142

ที่ปรึกษาทางวิชาการส่วนกลาง (ต่อ) ผอ.นภาพรรณ วิริยะอุตสาหกุล สำนักโภชนาการ 0814211411 ดร.พญ.สายพิณ โชติวิเชียร 0830179638 น.ส.วรลักษณ์ คงหนู 0898156502 นางปนัดดา จั่นผ่อง สำนักส่งเสริมสุขภาพ 081 9218519 ทพญ.ปิยะดา ประเสริฐสม สำนักทันตสาธารณสุข 0891448542 น.ส.ชนัญณิศา เลิศสุโภชวณิชย์ สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ 02-5904177 นายวิโรจน์ วัชระเกียรติศักดิ์ 02-5904606 น.ส.ปรียนิตย์ ใหม่เจริญศรี สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม 02-5904253 น.ส.สุวพร ทวีสิทธิ์ สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ 025904266 นางนงพะงา ศิวานุวัฒน์ กองออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ 02-5904559

ช่องทางการจัดส่งข้อเสนอโครงการฯ 1. e-mail : dekthaikamsai@gmail.com ติดต่อผู้ประสานงาน : คุณธีรยุทธ มงคลมะไฟ โทร. 0807321073 คุณติราพร ทองที โทร. 0996915469 คุณธนา เวชากุล โทร. 0869812642 คุณศศิมาภรณ์ ล้อมทอง โทร. 0994646542

2. ไปรษณีย์.... ติดต่อผู้ประสานงาน... เรียน ผู้จัดการโครงการเด็กไทยแก้มใส สำนักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000 ติดต่อผู้ประสานงาน... คุณสิรี สุวรรณศิลป์ โทร. 02 590 4334 คุณจุฑามาศ จันดามุกข์ โทร. 02 590 4315 e-mail : food2552@gmail.com www.pnic.go.th

ขอบคุณค่ะ