วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ของงานแนะแนว ระดับประถมศึกษา
Advertisements

งานวิจัย ผลการใช้แบบฝึกการเขียนคำที่มักเขียนผิด
ศึกษาความพึงพอใจของผู้บริหารและครูต่อสภาพแวดล้อมของสถานศึกษา อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา โดย เสมา แสนยากร.
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ชื่อเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความ คงทนในการเรียนรู้เรื่องความรู้เกี่ยวกับแผนธุรกิจ ( Business Plan ) วิชาการดำเนินธุรกิจขนาดย่อมรหัส.
แผนกบริหารธุรกิจ โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่อง การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสามมิติเพื่อพัฒนาการเรียน การสอนหน่วยที่ 1 การบำรุงรักษาเครื่องยนต์เล็ก วิชางานเครื่องยนต์เล็ก รหัส
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีวชิราโปลีสงขลา อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา
ผู้วิจัย นายธีรภัทร พึ่งเนตร
เข้าร่วมประกวดผลงานวิจัยประเภทการเรียนการสอน
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางนุชนาฎ หิรัญ โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
งานวิจัย เรื่อง การใช้ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
นางสาวสุภัทรา สุขวัฒนา วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสาม
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
ผู้วิจัย น.ส สุนิสา แก้วมา วิทยาลัยเทคโนโลยีรัตนโกสินทร์
นางสาววาสนา เก่าพิมาย
นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่

นางสาวสุกัญญา กันศิริ
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
ชื่อผู้วิจัย : นางสาวพรธนา ช่วยตั้ง
ว่าที่เรือตรีไชยา วิเชียนล้ำ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
นางสาวกุลวีณ์ สัตตรัตนามัย โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
นางสาวกานณภา ทองเกิด สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
นายวีระชัย ทะจันทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ผู้วิจัย อาจารย์ณฐกมล พินิจศักดิ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
นางสาวพิชญาภา อิ่มประไพ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ (MBAC)
นางสาวมัทนา เครือแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย อาจารย์ธนพร ผ่อนวัฒนา
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
นางสาวกุลวีณ์ เกษมสุข ผู้วิจัย
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้โปรแกรมพิมพ์ดีดอังกฤษด้วยคอมพิวเตอร์ที่มีผลต่อการมองแป้นขณะพิมพ์ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 (ปวช.1)
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
3 rd largest economy world’s วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ is the การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชา คอมพิวเตอร์และ ระบบปฏิบัติการเบื้องตัน ของนักศึกษาระดับ.
โดย นางวัลภา เก่งอักษร
โดย อาจารย์นันทิพร ม่วงแจ่ม
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
ผลการใช้ CAI กับแบบเรียนตาม ศักยภาพในการสอนนักศึกษาซ่อม เสริมในรายวิชาธุรกิจทั่วไป ประจำภาคเรียนฤดูร้อน ปีการศึกษา 2553 แผนกพณิชยการฯ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลาน.
ครูโรงเรียนเมืองชลพณิชยการ จ. ชลบุรี
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
การทดลองใช้เอกสารประกอบการเรียน ในวิชาบัญชีเบื้องต้น 2
การพัฒนาพฤติกรรมการกล้าเสดงออก โดยใช้วิธีการแสดงบทบาทสมมติ ในรายวิชาทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 1 แผนกการตลาด.
ผู้วิจัย จุฬารัตน์ มหาชัย
ผู้วิจัย อาจารย์ภารดี เนติเจียม
นางสาวธาราวรรณ เที่ยงดี
นางสาวนันท์นภัส นาราช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ชื่อผู้วิจัย :: นางสาวสุทธิดา โชติญาณพงษ์
เรื่องระบบจำนวน ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
นางสาวเกสรา ฉายารัตน์
นายขวัญชัย ดวงทนัน วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การใช้สื่อการสอน “วงจรบัญชี”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง 07/04/60 วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง

การใช้บทบาทสมมติที่มีต่อความนิยมไทย งานวิจัยเรื่อง การใช้บทบาทสมมติที่มีต่อความนิยมไทย ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 ผู้วิจัย นางสาวกานดา สมุทรรัตน์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง

07/04/60 ความเป็นมา

วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อเปรียบเทียบความนิยมไทยของนักเรียนที่ได้รับการ ใช้บทบาทสมมติกับนักเรียนที่ได้รับการสอนแบบปกติ 2. เพื่อเปรียบเทียบความนิยมไทยของนักเรียนก่อนและหลัง การใช้บทบาทสมมติ 3. เพื่อเปรียบเทียบความนิยมไทยของนักเรียนก่อนและหลัง การสอนแบบปกติ

กรอบแนวคิดการวิจัย ตัวแปรอิสระ วิธีการพัฒนาความนิยมไทย 2 วิธี ตัวแปรตาม วิธีการพัฒนาความนิยมไทย 2 วิธี คือ - การใช้บทบาทสมมติ - การสอนแบบปกติ ความนิยมไทย

วิธีดำเนินการวิจัย ประชากร กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 ห้อง 4-5 วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง อำเภอเมือง จังหวัดระยอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 ที่ได้คะแนนจากแบบสอบถามความ นิยมไทยต่ำกว่าเปอร์เซนไทล์ที่ 25 ลงมา จำนวน 22 คน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 ห้อง 4-5 วิทยาลัย อาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง อำเภอเมือง จังหวัดระยอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 ที่มีความนิยมไทยต่ำกว่าเปอร์เซนไทล์ที่ 25 จำนวน 20 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มอย่างง่ายจากประชากร และ สุ่มอย่างง่ายอีกครั้งเป็นกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 10 คน

เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ 1. โปรแกรมความนิยมไทยโดยการใช้บทบาทสมมติ 2. โปรแกรมความนิยมไทยโดยการสอนแบบปกติ 3. แบบสอบถามความนิยมไทย

การเก็บรวบรวมและการวิเคราะห์ข้อมูล 1. ขั้นก่อนทดลอง ทำการสอนก่อนการทดลอง (Pretest) โดยให้กลุ่ม ทดลองและกลุ่มควบคุมตอบแบบสอบถามความนิยมไทย 2. ขั้นดำเนินการทดลอง ดำเนินการทดลองโดยใช้บทบาทสมมติกับ กลุ่มทดลอง ตามโปรแกรมการใช้บทบาทสมมติความนิยมไทย เป็นเวลา 5 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 2 ครั้ง ครั้งละ 50 นาที จำนวน 10 ครั้ง ในวันจันทร์และวันพุธ เวลา 13.00 – 13.50 น. ตั้งแต่วันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 ถึงวันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2554 ส่วนกลุ่ม ควบคุมได้รับการสอนแบบปกติตามโปรแกรมการสอนแบบปกติ ความนิยมไทย เป็นเวลา 5 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 2 ครั้ง ครั้งละ 50 นาที จำนวน 10 ครั้ง ในวันอังคารและวันพฤหัสบดี เวลา 13.00 – 13.50 น. ตั้งแต่วันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 ถึงวันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2554

การเก็บรวบรวมและการวิเคราะห์ข้อมูล 3. การสอบหลังการทดลอง (Posttest) ให้นักเรียนกลุ่มทดลองและกลุ่ม ควบคุมทำแบบสอบถามความนิยมไทยอีกครั้งหนึ่ง หลังจากใช้บทบาท สมมติและการสอนแบบปกติ โดยใช้แบบสอบถามฉบับเดียวกับที่ใช้ ก่อนทดลอง 4. นำคะแนนที่ได้จากแบบสอบถามความนิยมไทยทั้งสองครั้งมาทำการ วิเคราะห์ทางสถิติต่อไป

การเก็บรวบรวมและการวิเคราะห์ข้อมูล 1. เปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนความนิยมไทยของนักเรียนที่ ได้รับการใช้บทบาทสมมติกับนักเรียนที่ได้รับการสอนแบบปกติ โดยการ ทดสอบของ แมน วิทนีย์ (The Mann – Whitney U Test) 2. เปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนความนิยมไทยของนักเรียนที่ ได้รับการใช้บทบาทสมมติก่อนและหลังการใช้บทบาทสมมติ โดยการ ทดสอบของ วิลคอกซัน (The Wilcoxon Matched – Pairs Signed Rank Test) 3. เปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนความนิยมไทยของนักเรียนที่ ได้รับการสอนแบบปกติ ก่อนและหลังการสอนแบบปกติ โดยใช้การ

สรุปผลการวิจัย 1. ผลการเปรียบเทียบคะแนนนิยมไทย ระหว่างกลุ่มทดลองที่ใช้บทบาทสมมติและกลุ่มควบคุมที่ได้รับการสอนแบบปกติ พบว่า การใช้บทบาทสมมติทำให้นักเรียนมีความนิยมไทยสูงขึ้นกว่าการสอนแบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ผลการเปรียบเทียบคะแนนความนิยมไทยของกลุ่มทดลองก่อนและหลังการใช้บทบาทสมมติ พบว่า การใช้บทบาทสมมติทำให้นักเรียนมีความนิยมไทยสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3. ผลการเปรียบเทียบคะแนนความนิยมไทยของกลุ่มควบคุมก่อนและหลังการสอนแบบปกติ พบว่า การสอนแบบปกติทำให้นักเรียนมีความนิยมไทยสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01

ประโยชน์ของการวิจัย 1. ควรมีการศึกษาทดลองใช้วิธีการอื่น เช่น เทคนิคแม่แบบเพื่อ พัฒนาความนิยมไทยของนักเรียน 2. ควรทดลองใช้บทบาทสมมติพัฒนาความนิยมไทยของนักเรียน ในระดับชั้นอื่น

07/04/60 ขอบคุณค่ะ