การจำแนกประเภทของสาร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน คศ.3 โรงเรียนปะทิววิทยา จังหวัดชุมพร
Advertisements

เรื่อง อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ โรงเรียนอุดมดรุณี จังหวัดสุโขทัย
วิธีสารแยกสารเนื้อผสม การใช้มือหยิบออก,เขี่ยออก
สมดุลเคมี.
การเปลี่ยนสีของสารละลายบรอมไทมอลบลูซึ่งเกิดจากการหมักของยีสต์
ตอนที่ 1 ก๊าซละลายในของเหลว
ขนมอบ จัดทำโดย เสนอ อ. มานะ ผิวผ่อง
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
โครงงาน เรื่อง. ปุ๋ยฟื้นฟูสภาพดิน จัดทำโดย 1. ด. ญ
กรด-เบส (acid-base) คริษฐา เสมานิตย์.
สารชีวโมเลกุล คริษฐา เสมานิตย์.
3. ของเหลว 3.1 สมบัติทั่วไปของของเหลว ความดันไอ จุดหลอมเหลว และ
1. วัฏภาค (Phase) 2. ของแข็ง สารทุกชนิดมีสมดุลระหว่างวัฏภาค
ตัวอย่างการคำนวณความเข้มข้นของสารละลาย
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เรื่อง โภชนบัญญัติ
การสืบพันธุ์ของพืช.
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
ตัวอย่างกิจกรรมการทดลอง โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย
อาหารและโภชนาการ โรงเรียนวัดสะแกงาม นายทรงสวัสดิ์ แสงมณี
สมบัติของสารและการจำแนก
ชุดทดสอบ ปรอทแอมโมเนีย ในเครื่องสำอาง
นิยามศัพท์ทางด้านอาหารสัตว์ และการจำแนกวัตถุดิบอาหารสัตว์
โดย นางนพวรรณ จักษุสุวรรณ
สารอนินทรีย์ (Inorganic substance)
เรื่อง เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับสมบัติของแข็ง ของเหลว และ แก๊ส
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง การทดลองหาแป้งในยาสีฟัน ( วิทยาศาสตร์ )
สารกัดกร่อน.
กำหนดการสอน วิชาเคมี ว30221
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
ระเบิดเวลาที่รอวันปะทุ
โครมาโตกราฟี โครมาโตกราฟี คือ การแยกสารโดย
วิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 15 ข้อ next.
สารละลายและค่าการละลาย (Solution and Solubility)
แผนที่ นางสาวพัชรินทร์ รุ่งสว่าง ตำแหน่งครูผู้ช่วย
8.2.1 ไอออนในสารละลายกรด สารละลายกรดทุกชนิดมีไอออนที่เหมือนกันคือ H3O+
ประโยคความเดียว ประโยคความเดียว คือ ประโยคที่มีใจความเพียงใจความเดียวหรือประโยคที่มีประธานและมีกริยาตัวเดียว.
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีกับปริมาณสารสัมพันธ์
โครงการอบรม เรื่อง การผลิตน้ำส้มสายชูหมักจากข้าว ดร. นันทพร พึ่งสังวร
ประกาศการทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4209 (พ. ศ
เรื่อง กรด-เบส ในชีวิตประจำวัน
เรื่อง กรด-เบส ในชีวิตประจำวัน
เอนไซม์ ( Enzyme ) เอนไซม์ คือ ตัวเร่งปฏิกิริยาทางชีวภาพ เป็นสารประกอบพวกโปรตีน เอนไซม์จะเร่งเฉพาะชนิดของปฏิกิริยา และชนิดของสารที่เข้าทำปฏิกิริยา เอนไซม์บางชนิด.
สมดุลเคมี Chemical Equilibrium
สารประกอบ.
วิชาวิทยาศาสตร์ (ว31101 )ชั้น ม. 1
กระบวนการแพร่และออสโมซิส The process of diffusion and osmosis.
อาหารหลัก 5 หมู่ โดย นางสาวฉัตรสุดา มงคลโภชน์
ACID-BASE เราไปกันเลย Jutimat Rattanapan.
ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
Science Quiz Show ภูมิใจนำเสนอ
¤ÃÙàÍÕèÂÁÅÐÍÍ ¸¹Ñ­ªÑ นางเอี่ยมละออ ธนัญชัย ครูเอี่ยมละออ ธนัญชัย
อาหารและสารอาหาร อาหาร หมายถึง สิ่งที่รับประทานเข้าสู่ร่างกายแล้วไม่เป็นโทษต่อร่างกายและมีประโยชน์ สารเคมีที่เป็นส่วนประกอบในอาหารจะเรียกว่า “สารอาหาร”
แผนภูมิสมดุล การผสมโลหะ (Alloy) คุณสมบัติของการผสม
1.สารลดแรงตึงผิว 2.ฟอสเฟต 3.ซิลิเกต 4.โซเดียมคาร์บอคซีเมทิลเซลลูโลส
โดย ครูธันว์ชนก บัวคงดี
หลักการเลือกซื้ออาหาร
วิทยาศาสตร์ Next.
ประเภทของสารประกอบอินทรีย์
ดาวเคราะห์น้อย (Asteroids)
จัดทำโดย ด. ช. ฤทธิชัย แจ้งสว่าง ม 1/ 2 เลขที่ 11 ด. ช. ธนะพัฒน์ ทาอูฐ ม.1/2 เลขที่ 5 ด. ช. ภราดร หนูสิทธิ์ เลขที่ 8 click.
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
การเจริญเติบโตของพืช จัดทำโดย เด็กชาย มณศักดิ์ จันทร์เรือง ชั้น ม
ประกาศการทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4210 (พ. ศ
JIRAT SUKJAILUA Science Department Maechai Wittayakom school
สมดุลเคมี เช่น น้ำ (ของเหลว)
สารและสมบัติของสาร วิทยาศาสตร์ ม.1 โดย นางภัทรา คำสีทา
มลภาวะ (pollution).
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจำแนกประเภทของสาร กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ช่วงชั้นที่ 2 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดย นายเพชรนภา โสภาจร ตำแหน่งครู รับเงินเดือนอันดับ คศ.1 โรงเรียนบางจาก(โกมลประเสริฐอุทิศ) สำนักงานเขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร

1. บอกความหมาย และจำแนกประเภทของสารโดยใช้เกณฑ์ต่างๆ ได้ (K) 2. มีความสนใจใฝ่รู้หรืออยากรู้อยากเห็น (A) 3. สามารถสื่อสารและนำความรู้เรื่องการจำแนกประเภทของสารไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ (P)

สาระการเรียนรู้ มีสาระการเรียนรู้ดังนี้... ครับ - ความหมายของสาร - ความหมายของสาร การจำแนกประเภทของสาร - ใช้สถานะเป็นเกณฑ์ - ใช้เนื้อสารเป็นเกณฑ์ - ใช้การละลายน้ำเป็นเกณฑ์ - ใช้ความเป็นกรด-เบสเป็นเกณฑ์

สาร ประกอบด้วยอนุภาคขนาดเล็กที่มีองค์ประกอบและสมบัติเฉพาะตัว มีสถานะเป็นของแข็ง ของเหลว และแก๊ส โดยของแข็งจะมีอนุภาคของสารอยู่ชิดกันมากที่สุด มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคมากจึงมีปริมาตรคงที่ มีรูปร่างที่แน่นอน และเฉพาะตัว ส่วนของเหลวจะมีปริมาตรคงที่ สามารถไหลได้เพราะอนุภาคภายในอยู่ห่างกัน รูปร่างของเหลวจึงเปลี่ยนไปตามภาชนะที่บรรจุได้ และแก๊สจะมีอนุภาคภายในอยู่ห่างกันมาก อนุภาคจะเคลื่อนที่อยู่ตลอดเวลา จึงมีปริมาตรและรูปร่างไม่คงที่ สามารถฟุ้งกระจายได้

การจำแนกประเภทของสาร การจำแนกประเภทของสาร คือ การจัดสารออกเป็นหมวดหมู่ เพื่อสะดวกในการนำไปใช้ และเพื่อความสะดวกในการศึกษาสมบัติของสารซึ่งมีอยู่จำนวนมาก การจำแนกประเภทของสารจะใช้เกณฑ์ต่างๆ กัน เช่น สถานะ เนื้อสาร และความสามารถในการนำความร้อนเป็นเกณฑ์ โดยเมื่อใช้สถานะเป็นเกณฑ์จะจำแนกสารได้เป็นของแข็ง ของเหลว และแก๊ส เมื่อใช้เนื้อสารเป็นเกณฑ์จะจำแนกได้เป็นสารเนื้อเดียวและสารเนื้อผสม เมื่อใช้การละลายน้ำเป็นเกณฑ์จะจำแนกสารที่ละลายน้ำได้ และสารที่ละลายน้ำไม่ได้ เมื่อใช้ความเป็นกรดและเบสเป็นเกณฑ์มาใช้แยกประเภทของสารละลายต่างๆ

การจำแนกประเภทของสารโดยใช้สถานะเป็นเกณฑ์ สามารถแบ่งได้ดังนี้ 1. ของแข็ง มีรูปร่างและปริมาตรที่คงที่แน่นอน 2. ของเหลว มีปริมาตรคงที่ แต่รูปร่างเปลี่ยนไปตามภาชนะที่บรรจุ 3. แก๊ส มีปริมาตรและรูปร่างไม่คงที่ จะเปลี่ยนไปและฟุ้งกระจายตามภาชนะที่บรรจุ

การจำแนกประเภทของสารโดยใช้เนื้อสารเป็นเกณฑ์ สามารถแบ่งได้ดังนี้ 1. สารเนื้อเดียว หมายถึง สารที่มองเห็นเป็นเนื้อเดียว ซึ่งอาจมีสารเพียงชนิดเดียวหรือมากกว่า 1 ชนิดปนอยู่ 2. สารเนื้อผสม หมายถึง สารที่เกิดจากสารอื่นๆ ตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปผสมกันอยู่ เมื่อมองด้วยตาเปล่าจะพอมองเห็นสารตั้งแต่ 2 ชนิดปนกันอยู่

การจำแนกประเภทของสารโดยใช้การละลายน้ำเป็นเกณฑ์ แบ่งสารได้เป็น 2 กลุ่ม คือ 1. สารที่ละลายน้ำ เช่น เกลือแกง น้ำตาลทราย น้ำตาลกลูโคส จุนสี ด่างทับทิม เอทานอล กรดแอซิติก แก๊สแอมโมเนีย แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ เป็นต้น 2. สารที่ไม่ละลายน้ำ เช่น แป้ง หินปูน ไขมัน น้ำมันพืช พลาสติก เหล็ก ไม้ กำมะถัน คาร์บอน น้ำมันเชื้อเพลิง เป็นต้น

การจำแนกประเภทของสารโดยใช้ความเป็นกรดและเบสเป็นเกณฑ์ โดยทั่วไปเรานิยมนำเกณฑ์นี้มาใช้แยกประเภทของสารละลายต่างๆ เช่น น้ำเชื่อม น้ำเกลือ แอลกอฮอล์เช็ดแผล ซึ่งการตรวจสอบว่าสารใดมีสมบัติเป็นกรดหรือเบส สามารถทำได้โดย การใช้กระดาษลิตมัสตรวจสอบ

เพื่อนๆ ทราบไหมครับว่า กระดาษลิตมัส เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ตรวจสอบความเป็นกรด-เบสของสารกระดาษลิตมัส มี 2 สี คือ สีแดงและสีน้ำเงิน ซึ่งจะบอกให้ทราบแต่เพียงว่า สารละลายเป็นกรดหรือเบสเท่านั้น แต่ไม่สามารถบอกได้ว่ามีความเป็นกรดหรือเบสมากน้อยเพียงใดนะครับ

สารประกอบด้วยอนุภาคขนาดเล็กใช่หรือไม่ ไม่ใช่

การจำแนกสารแบ่งออกเป็นได้กี่ประเภท 5 การจำแนกสารแบ่งออกเป็นได้กี่ประเภท ก. 1 ประเภท ข. 2 ประเภท ง. 4 ประเภท ค. 3 ประเภท

จงตอบคำถามให้ถูกต้อง สารมีกี่สถานะ เนื้อสารมีกี่ประเภท ประเภทของสารโดยใช้การละลายน้ำแบ่งสารได้กี่กลุ่ม <Keypad will appear here based on shape and location of this rectangle.>

จงแบ่งประเภทของสารให้ถูกต้อง น้ำตาลทราย พลาสติก ด่างทับทิม เหล็ก หินปูน ไม้ กรดแอซิติก เกลือแกง สารที่ละลายน้ำ สารที่ไม่ละลายน้ำ

<Scoreboard will appear here, leave shape as-is.>