สรุปโครงการอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.ปี 2550

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การพัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนในการ จัดระบบเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ภาคกลาง วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เครือข่ายภาคประชาชน มีความรู้ความ เข้าใจที่ถูกต้อง.
การพัฒนาศักยภาพ อสม. ปี 2554
ความหมายและกระบวนการ
การดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพ ตำบลเขาซก อำเภอหนองใหญ่ ชลบุรี
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
องค์ประกอบ/กระบวนงานด้านการคุ้มครองเด็ก ในระดับจังหวัดสมุทรสาคร
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 8 จังหวัดนครสวรรค์
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
กิจกรรมประชุมพัฒนาการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคระดับจังหวัด ในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 ( การปรับปรุงการบริหารจัดการที่สนับสนุนการ ขับเคลื่อนงานอำเภอ.
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
งานโรคไม่ติดต่อ กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
ยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาพฤติกรรมวัยรุ่น จังหวัดเพชรบุรี
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
คู่มือการจัดทำแผนปฏิบัติการ ป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
เป้าหมายสำคัญของแผนยุทธศาสตร์ ปี 56 แผนงาน เป้าหมาย
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สรุปการประชุม เขต 10.
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุขเขต 10 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แนวคิดในการปรับปรุงรูปแบบและพัฒนามาตรฐานทีม SRRT
1. เสือปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 เน้นชุมชนให้มี การพัฒนา ระบบสุขภาพ อย่างครบวงจรใน รูปเครือข่าย โครงการพัฒนา เครือข่ายฯ ประสานจังหวัด เลือกผู้นำชุมชน / ผู้สื่อข่าว.
นายแพทย์สมพงษ์ สกุลอิสริยาภรณ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556
เพิ่มภาพ แผนที่ตำบล หรือภาพกิจกรรมชมรมสูงอายุในพื้นที่
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
บทบาท อสม.เชิงรุก ๑. เป็นผู้นำทางความคิดและผู้นำทางด้านสุขภาพในระดับชุมชน ในการลดโรค ๕ โรคสำคัญที่เป็นสาเหตุการตายลำดับต้นๆของประชาชน คือ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง.
สรุปผลงานส่วนสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ พ. ศ โครงการรณรงค์ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ประจำปี 2555 ระยะเวลาดำเนินการ วันที่ 1.
นโยบายยางน้อยสุขภาพดี ไม่มีพุง
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
สาขาโรคมะเร็ง.
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
นายวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
โครงการลดปัญหาสุขภาพจากระบบสืบพันธุ์
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัดสิงห์บุรี ( มิ. ย.2550)
นวัตกรรม7สี ปันรัก ไกลโรค ปี2556
แนวคิดและหลักการส่งเสริมการตรวจสุขภาพ รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
หน่วยงานภาครัฐ, อปท. และเอกชนมีสนับสนุน งบประมาณ, ประสานงาน กัน อย่างต่อเนื่องและ เข้มแข็ง ( นาจอมเทียน, บางเสร่, พูลตาหลวง, แสมสาร, สัตหีบ ) มีระบบข้อมูลที่มี
โรคอาหารเป็นพิษ วันที่ 26 – 27 พฤศจิกายน 2557 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สำนักโรคติดต่อทั่วไป.
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ แผนงาน เป้าหมายการให้บริการกระทรวง เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน ผลผลิต/โครงการและงบประมาณปี 2554 กรมควบคุมโรค.
ทำแผนที่ทางเดินยุทธศาตร์ของ แกนนำชุมชน เทศบาลสนับสนุน งบประมาณอย่างเต็มที่ เครือข่ายชุมชน วัด โรงเรียนมีบทบาทในการ ดำเนินงานด้านสุขภาพ ใช้แผนที่ยุทธสาสตร์
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปโครงการอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.ปี 2550 กระทรวงสาธารณสุข

1. ความสำคัญและที่มาของโครงการ ปัญหาสาธารณสุขเปลี่ยนแปลงไปสู่โรคที่เกิดจากการใช้ชีวิตประจำวัน ที่มีพฤติกรรมสุขภาพไม่ถูกต้องมากขึ้น เป็นโรคเรื้อรังที่เป็นภัยเงียบ ก่อตัวสะสมในร่างกายโดยไม่รู้ตัว และจะส่งผลเมื่อเกิดโรคหรืออาการรุนแรงแล้ว คาดว่ามีคนไทยที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคอัมพาต อัมพฤกษ์ ประมาณ 13 ล้านคน กระทรวงสาธารณสุขจึงได้นำเอาพลังของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ซึ่งมีอยู่กว่า 800,000 คน ทั่วประเทศ มาร่วมแสดงบทบาทในการป้องกันควบคุมโรค

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ 2.1 ทบทวนบทบาทและภารกิจของ อสม.ในการดูแลสุขภาพของประชาชนตามสภาพปัญหาสาธารณสุขที่เปลี่ยนแปลงไป 2.2 เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะที่จำเป็นและเร่งด่วน ของ อสม.ในการปฏิบัติงานให้เน้นหนักกับสภาพปัญหาดังกล่าว 2.3 เพื่อพัฒนาระบบการเฝ้าระวังและดูแลผู้ป่วยโรคที่เป็นปัญหาสำคัญของชุมชน

3. เป้าหมาย 3.1 วิทยากรระดับจังหวัด (ครู ก) จังหวัดละ 5 คน 75 จังหวัด รวม 375 คน 3.2 วิทยากรครูฝึก อสม. (ครู ข) อำเภอละ 5 คน 877 อำเภอ รวม 4,385 คน 3.3 อสม. หมู่บ้านละ 3 คน 74,422 หมู่บ้าน รวม 223,281 คน

4. กลวิธี/กิจกรรม 4.1 ประชุมหารือผู้บริหาร 4. กลวิธี/กิจกรรม 4.1 ประชุมหารือผู้บริหาร 4.2 จัดทำแนวทางการอบรมฟื้นฟูพัฒนาศักยภาพ อสม. 4.3 ประชุมมอบนโยบายแก่จังหวัด 4.4 อบรมวิทยากรระดับจังหวัด (ครู ก.) 4.5 ประชุมเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชนชายแดนภาคใต้ 4.6 อบรมวิทยากรครูฝึก อสม. (ครู ข.) 4.7 อบรม อสม. 4.8 ติดตามสนับสนุน 4.9 รณรงค์ตรวจวัดความดันโลหิต 4.10 ประเมินผลโครงการ

5. งบประมาณ/สิ่งสนับสนุน 5. งบประมาณ/สิ่งสนับสนุน 5.1 งบประมาณ - จากกรมต่าง ๆ ของกระทรวงสาธารณสุข และ สปสช. จำนวน 65, 062,730 บาท - ได้รับสนับสนุนงบฯ จาก สสจ. อปท. 5.2 สิ่งสนับสนุน - แนวทางการอบรมฟื้นฟูพัฒนาศักยภาพ อสม. จำนวน 12,000 เล่ม - ประกาศนียบัตรสำหรับ อสม. จำนวน 400,000 แผ่น

6. ระยะเวลาดำเนินการ - ประชุมหารือผู้บริหาร 5 มิ.ย.50 6. ระยะเวลาดำเนินการ - ประชุมหารือผู้บริหาร 5 มิ.ย.50 - จัดทำแนวทางการอบรม 20-22 มิ.ย.50 - ประชุมมอบนโยบายแก่ทีมจังหวัด 2 ก.ค.50 - อบรม ครู ก 6-8 ก.ค.50 - ประชุมเครือข่ายภาคประชาชนชายแดนภาคใต้ 8-19 ก.ค.50 - การอบรม อสม. ทั่วประเทศ 15 ก.ค.-16 ส.ค.50 - การรณรงค์ตรวจวัดความดันโลหิตทั่วประเทศ 2-8 ก.ย.50

กิจกรรม เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน 7. สรุปผลการดำเนินงาน กิจกรรม เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน วิทยากรระดับจังหวัด (ครู ก) 375 คน 377 คน วิทยากรครูฝึก อสม. (ครู ข) 4,385 คน อบรมพัฒนาศักยภาพ อสม. 225,538 คน 297,837 คน รณรงค์ตรวจวัดความดันโลหิต 26,532,460 คน 21,691,310 คน ตรวจวัดดัชนีมวลกาย 6,903,875 คน 6,111,196 คน

จำนวนประชากรที่ได้รับการตรวจคัดกรองเทียบกับเป้าหมาย 26,532,460 คน 21,691,310 คน (81.75%) เป้าหมาย ตรวจคัดกรอง

ร้อยละของการตรวจพบผู้มีความดันสูงจำแนกตามภูมิภาค 23.41% 14.18% 12.87% 12.11% 7.94% กทม. ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตอ/น ภาคใต้

จังหวัดที่พบอัตราผู้มีความดันโลหิตสูงใน 5 ลำดับแรก จังหวัดที่พบอัตราผู้มีความดันโลหิตสูงใน 5 ลำดับแรก 23.41% 21.7% 20.51% 19.94% 19.27% กทม. อยุธยา เชียงใหม่ นครสวรรค์ เชียงราย

การคัดกรองดัชนีมวลกาย 4,392,148 คน (71.87%) 1,307,247คน (21.39%) 411,801 คน (6.74%) ปกติ ท้วม อ้วน