การบริหารและลดความเสี่ยงด้านการเงิน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทิศทางการดำเนินงานกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา
Advertisements

ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
สื่อการสอนโครงงานอาชีพ ระดับชั้นประถมศึกษาตอนปลาย จัดทำโดย ม
ความสำคัญของการบริหารการเงิน
การจัดการเงินทุนหมุนเวียน
สถานการณ์การเงินที่อยู่อาศัย
การจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน
หัวหน้ากลุ่มยุทธศาสตร์ และพัฒนาองค์กร
หลักพื้นฐานในการวางแผนโดยงบประมาณ
Statement of Cash Flows
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
การประเมินความเสี่ยง เพื่อวางแผนการตรวจสอบ
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
รายงานที่ให้ทำ (ทุกคน)
หลักการประกอบธุรกิจสมัยใหม่
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ความเสี่ยง สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก
สภาพแวดล้อมปัจจุบัน โลกยุคโลกาภิวัตน์ สังคม เศรษฐกิจ
1. แบบ SNRU-ERM 1 แบบแสดงขั้นตอนการดำเนินงาน (Key Process)
การจัดการตลาด ความหมายการจัดการตลาด กระบวนการการจัดการตลาด
สินทรัพย์ = หนี้สิน + ทุน
โครงการ พัฒนาศักยภาพสหกรณ์ แบบเบ็ดเสร็จตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
กลุ่มที่ 1 การส่งเสริมสหกรณ์ให้ผ่านเกณฑ์ข้อ 1
การบริหารความเสี่ยง ของสหกรณ์
การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์
เกณฑ์ Benchmark ใหม่ ของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
การเงิน.
KM เรื่อง “การบริหารความเสี่ยง” ส่วนบริหารการจัดเก็บภาษี
ระบบการผลิต ( Production System )
บทบาทของการบริหารการเงิน (The Role Financial Management)
บทที่ 1 หลักการและหน้าที่ทางการเงิน
บทที่ 4 ผลตอบแทนและความเสี่ยง (1)
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
มาตรฐานทางการเงิน 7 ด้าน
การตรวจราชการ กับการบริหารความเสี่ยง
การเงินธุรกิจ BUSINESS FINANCE
การบัญชีเพื่อการจัดการ (Managerial Accounting) BY MANATSADA
การบริหารความเสี่ยง (Risk Management)
การบริหารความเสี่ยง กับการดำเนินงานห้องสมุด
บทนำการบริหารโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศ
การวิเคราะห์ทางการเงิน (Financial Analysis)
บทที่ 4 การพยากรณ์ทางการเงิน การวางแผนทางการเงิน และงบประมาณ (Financial Forecasting Planning and Budgeting) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต.
บทที่ 12 นโยบายเงินปันผล ( Dividend Policy )
มาตรฐานการควบคุมภายใน
การบริหารและกระบวนการวางแผน
สินค้าคงเหลือ.
การตรวจสอบ และการควบคุมภายใน
แบบฟอร์ม - ERM I ดร.ทองม้วน นาเสงี่ยม ผู้เชี่ยวชาญ และที่ปรึกษา
การจัดทำแผนธุรกิจ.
WINTER 01 การบริหารความเสี่ยง ด้านการรักษาความปลอดภัย ระบบสารสนเทศ
การติดตาม และการควบคุม (Monitoring and Control)
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
แหล่งที่มาและการใช้ไปของเงินทุนในสหกรณ์ เครดิตยูเนี่ยน
ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1
ระบบสารสนเทศที่แบ่งตามลักษณะการสนับสนุนการทำงาน:
บทที่1 การบริหารการผลิต
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
บทที่ 7 การควบคุมเชิงกลยุทธ์
บทที่ 1 บทนำ SIRIPONR SOMKHUMPA.
Creative Accounting
การวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธ์ (Planning & Strategic Management)
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
หลักการประกอบธุรกิจสมัยใหม่
1. ความหมายขององค์กรธุรกิจ องค์กรธุรกิจ หมายถึง กลุ่มคนซึ่งร่วมกันทำกิจกรรมทางธุรกิจเพื่อหวัง ผลตอบแทนเป็นกำไรและการลงทุน 2. ระบบสารสนเทศในเชิงธุรกิจ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบริหารและลดความเสี่ยงด้านการเงิน นายบุญชู เทพสุนทร สมาคมธนาคารไทย 25 เมษายน 2550

ความเสี่ยง เหตุการณ์/การกระทำใดๆ ที่อาจเกิดขึ้นภายใต้สถานการณ์ที่ไม่แน่นอน และส่งผลกระทบ หรือสร้างความเสียหายหรือความล้มเหลว หรือ ลดโอกาสที่จะบรรลุวัตถุประสงค์ทั้งในระดับองค์กร ระดับหน่วยงาน และระดับบุคคลได้

ความเสี่ยงทางการเงิน ภาวะความไม่แน่นอนที่ผู้ดำเนินธุรกิจมีโอกาสที่จะไม่ได้รับผลตามที่คาด หวังไว้โดยอาจสูงหรือต่ำกว่าที่คาดไว้ ความเสี่ยงทางการเงินระหว่างประเทศ ความไม่แน่นอนที่เกิดจากการทำธุรกรรมระหว่างประเทศ ไม่ว่าจะเป็น การลงทุน การซื้อขาย การกู้ยืม หรือการทำสัญญาต่างๆ ที่มา : ผศ.ชูศรี เที้ยศิริเพชร

RISK MANAGEMENT (การจัดการความเสี่ยง) กระบวนการในการ ระบุ วิเคราะห์ ประเมิน ดูแล ตรวจสอบ และควบคุม ความเสี่ยงที่สัมพันธ์กับ กิจกรรม หน้าที่ และกระบวนการทำงาน เพื่อให้ องค์กรลดความเสียหายจากความเสี่ยงได้มากที่สุด

ขั้นตอนการบริหารความเสี่ยงขององค์กร 1. การกำหนดวัตถุประสงค์ : กำหนดขอบเขตการดำเนินงานขององค์กร เพื่อให้การวิเคราะห์ความเสี่ยงได้ครบถ้วน 2. การระบุความเสี่ยง : ค้นหาความเสี่ยงในแต่ละด้าน 3. การวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยง : วิเคราะห์โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยงและ ผลกระทบของความเสี่ยง และจัดระดับความเสี่ยง 4. การจัดการความเสี่ยง : กำหนดแนวทางการดำเนินงานเพื่อป้องกัน ลดหรือ ควบคุมความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่องค์กรสามารถยอมรับได้ 5. การติดตาม ประเมินผลและรายงาน : ติดตามผลหลังดำเนินการตามแผน จัดการความเสี่ยงและประเมินผลการบริหารความเสี่ยง

กิจกรรมโลจิสติกส์ แบ่งเป็น 1. กิจกรรมหลัก (Key Activities) ได้แก่ ระบบการขนส่ง (Transportation) การบริหารสินค้าใน stock ( Inventory Management) ขบวนการสั่งซื้อ (Order Processing) การจัดการด้านข้อมูล ( Information Management) การจัดการด้านการเงิน ( Financial Management) 2. กิจกรรมสนับสนุน ( Supporting Activities) ได้แก่ การบริหารคลังสินค้า ( Warehouse Management) การจัดการควบคุมวัสดุในการผลิต ( Material Handling) การจัดซื้อ ( Purchasing) การบรรจุหีบห่อ ( Packaging) การบริหารความต้องการของสินค้า ( Demand Management)

ปัจจัยความเสี่ยงทางการเงินที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมโลจิสติกส์ ระบบการขนส่ง การบริหารสินค้าใน stock ขบวนการสั่งซื้อ การจัดการด้านข้อมูล การจัดการด้านการเงิน ราคาน้ำมัน อุบัติเหตุ, อัคคีภัย,ภัยธรรมชาติ อัตราแลกเปลี่ยน อัตราดอกเบี้ย สภาพคล่อง งบประมาณ ความสามารถในการชำระหนี้ ความน่าเชื่อถือทางการเงิน

แนวทางการบริหารความเสี่ยงด้านการเงินของกิจกรรมโลจิสติกส์ อุบัติเหตุ, อัคคีภัย,ภัยธรรมชาติ : การจัดทำประกันภัย อัตราแลกเปลี่ยน : เครื่องมือทางการเงิน เช่น Forward Contract อัตราดอกเบี้ย : การทำกระจายความเสี่ยงด้วยวิธี Hedging สภาพคล่อง : การบริหารสินทรัพย์หมุนเวียนและ หนี้สินหมุนเวียนที่มีประสิทธิภาพ งบประมาณ : การจัดทำงบประมาณจากข้อมูลที่เชื่อถือได้ ความสามารถในการชำระหนี้ : การพิจารณาสัดส่วนการก่อหนี้ของกิจการ ความน่าเชื่อถือทางการเงิน : การทำธุรกรรมกับสถาบันการเงิน เช่น การเปิด L/C , การชำระเงินผ่านระบบธนาคาร

ข้อสงสัยและคำถาม

ขอบคุณครับ