โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเดชอุดม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน่วยงานจักษุกรรม รพ.ค่ายวชิราวุธ.
Advertisements

Risk Management JVKK.
เครือข่ายวิชาชีพห้องสมุด
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัดทางวิสัญญี (Preoperative medication)
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ในทัณฑสถานหญิงจังหวัดเชียงใหม่
การกำหนดมาตรฐานอื่นๆ เรื่องโครงสร้างกายภาพ สิ่งแวดล้อม และความปลอดภัย
ภก. ปรมินทร์ วีระอนันตวัฒน์
เครื่องมือพัฒนาคุณภาพ
Service Profile บริการ/ทีม: โรงพยาบาล วันที่ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
กลุ่มงานสูตินรีเวชกรรม โรงพยาบาลน่าน
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
โครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษา ผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์
25/07/2006.
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ผลการพัฒนาการบันทึกข้อมูล HIV-QualT ในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา. โดย นส
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง.
ชื่อโครงการ.
โครงการยิ้มสวยเสียงใส
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ทีมนำด้านการดูแลผู้ป่วย
การดำเนินงานแก้ไขปัญหา การเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด ห้องคลอด
โรงพยาบาลสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
Service Profile สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล 27 สิงหาคม 2551
IM I-4 การวัด วิเคราะห์ performance ขององค์กร และการจัดการความรู้
Point of care management Blood glucose meter
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
การสื่อสารยุทธศาสตร์ปี 2558
ข้อเสนอและทางเลือก คลินิกอาชีวเวชกรรมโรงพยาบาลกมลาไสย (กลุ่มครูและบุคลากรทางการศึกษา) ความร่วมมือระหว่าง สำนักงานส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครู และบุคลากรทางการศึกษาจังหวัดกาฬสินธุ์
สรุปประเด็นการเยี่ยมสำรวจ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช
โรงพยาบาลเทพรัตน์นครราชสีมา
สรุปประเด็นการเยี่ยมสำรวจ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช
1. การประเมินผู้รับบริการก่อน ให้บริการ 2. การเฝ้าระวังผู้รับบริการกลุ่ม เสี่ยง 3. การเฝ้าระวังผู้ป่วยที่มีการ แพร่กระจายเชื้อ 4. การมีส่วนร่วมในทีมสห.
ศูนย์ประสานงานการรับส่งต่อผู้ป่วย
การบริหารและพัฒนาบุคลากร HR /HRD
Health Referral System for Care of People with Diabetics foot
การเรียนรู้ ผ่าน SERVICE PROFILE
โครงการลดภาวะแผลฝีเย็บแยก
สรุปประเด็น เรื่อง แนวคิดการจัดการรายกรณีเพื่อการดูแลต่อเนื่อง
1. การ ดำเนินงานตามกฎระเบียบ การประกันสังคม 2. ความสามารถ ในการดำเนินการ เรียกเก็บเงินได้ตามกำหนด 3. ความรวดเร็ว ถูกต้อง ครบถ้วนใน การให้บริการ 4. การมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย.
2. การเฝ้าระวังในผู้ป่วยที่อาจ เกิดเหตุฉุกเฉินขณะรอ 3. แนวทางการเฝ้าระวัง ภาวะแทรกซ้อนจากการบริจาค 1. การคัดกรองผู้บริจาคโลหิต 4. ความพร้อมในการช่วยเหลือ.
SAR2011 ข้อ III 4.3 ฉ : การฟื้นฟูสภาพ
ชื่อผลงาน/โครงการพัฒนา นวัตกรรมผ้ายืดมหัศจรรย์
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
1. แนวทางการรับคำสั่งการใช้ รถ การประกันระยะเวลาการ รับส่งผู้ป่วย 4. ความรู้ความสามารถของ พขร. ในเรื่องการช่วยฟื้นคืนชีพ การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย กฎจราจร.
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (CQI )
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
1. การ ดำเนินตามระเบียบงานสาร บรรณที่เกี่ยวข้อง 2. ความสามารถ ดำเนินการด้านสาร บรรณตามเวลาที่กำหนด 3. มีระบบ ป้องกันการสูญหายของ เอกสาร 4. การเผยแพร่ขั้นตอนในการ.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
งานคุณภาพ ของแผนกทารกแรกเกิด
รายงานการประเมินตนเอง 4.3 ช. การดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
1. การเตรียมผู้ป่วยก่อนทำการ ตรวจทางรังสีวิทยา 2. การเฝ้าระวังในผู้ป่วยที่อาจ เกิดเหตุฉุกเฉินขณะรอตรวจ 3. ความเหมาะสมของการส่ง ตรวจทางรังสีวิทยา 4. การควบคุมคุณภาพของการ.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
1. การประเมิน / จำแนกผู้ป่วย เพื่อรับการรักษา 2. การทำงานร่วมกับสหวิชาชีพ 3. การเฝ้าระวังผู้ป่วยที่มีความ เสี่ยงสูง เช่นผู้ป่วยหลอดเลือด สมอง ผู้ป่วยที่ไม่สามารถ.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
6. การทำงานเป็นทีมระหว่างสาขา วิชาชีพ 1. การคัดกรองจำแนกประเภทผู้ป่วย ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงที่อาจถูกคัดกรอง ผิดพลาด 2. การระบุตัวผู้ป่วยในกรณีต้อง เคลื่อนย้ายผู้ป่วย.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเดชอุดม งานบริการผ่าตัด โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเดชอุดม

หน้าที่และเป้าหมาย ให้บริการผ่าตัด ด้วยความถูกต้อง ปลอดภัย ไม่มีภาวะแทรกซ้อน ตามมารฐานวิชาชีพ

ขอบเขตให้บริการ ให้บริการผ่าตัด - สูติ-นรีเวชกรรม - ศัลยกรรมทั่วไป - ศัลยกรรมกระดูก - สูติ-นรีเวชกรรม - ศัลยกรรมทั่วไป และผ่าตัด ตา หู ตามโครงการพิเศษ ทั้งในภาวะปกติและฉุกเฉิน

ประเด็นคุณภาพที่สำคัญ ผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัด มี - การติดเชื้อแผลผ่าตัดสะอาด - การเลื่อนผ่าตัด - การมีสิ่งตกค้างในแผลผ่าตัด - การระบุ / ผ่าตัดผิด / ลืมผ่าตัด

ความท้าทายความเสี่ยง จุดเน้นในการพัฒนา ลดและป้องกัน การติดเชื้อแผลสะอาด ลดอุบัติการณ์เลื่อนผ่าตัด ป้องกันภาวะแทรกซ้อน การมีสิ่งตกค้างในแผลผ่าตัด ป้องกันการผ่าตัดผิดข้าง ผิดคน ผิดวิธี

ปริมาณงานและทรัพยากร ผู้ป่วยที่มารับบริการผ่าตัด ( ราย )

ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. รวม 2549 155 131 113 126 120 165 125 177 173 164 187 209 1845 2550 179 184 201 322 199 195 188 202 473 2700 2551 318 213 170 232 200 163 239 160 2099

ชนิดการผ่าตัดใหญ่ อันดับต้นตามกลุ่มศัลยกรรม พ.ศ.2459 พ.ศ.2550 พ.ศ.2551 1.สูติ-นรีเวช Cesarean Section (c/s) 481 626 630 2.ศัลยกรรมกระดูก ORIF with Internal Fixation 143 138 3.ศัลยกรรมทั่วไป Appendictomy 107 114 179 4.ผ่าตัดคุมกำเนิด Tubal resection 263 247 207

การผ่าตัดซับซ้อน เสี่ยงสูงตามกลุ่มศัลยกรรม การผ่าตัดเสี่ยงสูง ซับซ้อน พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2550 พ.ศ. 2551 สูติ-นรีเวช c/s with TAH 1 Expor lap for ectopic 13 5 8 TAH, Vg.hysterectomy 54 79 57 ศัลยกรรมกระดูก เปลี่ยนข้อเทียม ข้อตะโพก,ข้อเข่า 3 7 ORIF with DHS Laminectomy, Disectomy - ศัลยกรมทั่วไป Cholecystectomy MRM

เครื่องชี้วัดผลการดำเนินงานถูกต้องปลอดภัย

พ.ศ.2549 พ.ศ.2550 พ.ศ.2551 ห้อง/เครื่องมือ/ทีมไม่พร้อม 4 ราย 6 ราย 10 ราย ผู้ป่วย/เอกสาร รายงานไม่พร้อม 2 ราย 3 ราย 14 ราย

พ.ศ .2549 พ.ศ. 2550 พ.ศ. 2551 สิ่งตกค้างแผลผ่าตัด 0 ราย การผ่าตัดผิด ผ่าตัดซ้ำโดยไม่ได้วางแผนใน 24 ชม. 1 ราย 2 ราย

กระบวนการหรือระบบงานเพื่อบรรลุเป้าหมายและคุณภาพ

ระบบงานในปัจจุบันที่พัฒนาเสร็จสิ้นแล้ว เรื่องที่ 1. พัฒนาการตรวจนับความครบถ้วนเครื่องมือ อุปกรณ์ ที่ใช้ในการผ่าตัดเพื่อป้องกันการมีสิ่งตกค้างในแผลผ่าตัด เรื่องที่ 2. พัฒนาการระบุตัวผู้ป่วยและการตรวจสอบเพื่อป้องกันการผ่าตัดผิดคน ผิดข้าง ผิดตำแหน่ง ผิดวิธี และลืมทำผ่าตัดตามแผนการผ่าตัด เรื่องที่ 3. พัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วยผ่าตัดไส้ติ่ง เรื่องที่ 4. พัฒนาการดูแลผู้ป่วยผ่าตัดคลอด

การพัฒนาคุณภาพระหว่างดำเนินการ เรื่องที่ 1. การพัฒนาการป้องกัน การติดเชื้อแผลผ่าตัดในผู้ป่วยผ่าตัดแผลสะอาดและเปลี่ยนข้อเทียม เรื่องที่ 2. ลดอุบัติการณ์เลื่อนหรือยกเลิกการผ่าตัด

แผนการพัฒนาต่อเนื่อง พัฒนาการดูแลผู้ป่วยผ่าตัดเปลี่ยนข้อเทียม พัฒนาระบบบริการเพื่อรองรับการขยายบริการผ่าตัด เพิ่มความพึงพอใจผู้รับริการ ขยายห้องผ่าตัดและจัดหารเครื่องมือ อุปกรณ์ เพิ่มประสิทธิภาพการดูแลรักษา พัฒนาบุคลากร

พัฒนาการดูแลผู้ป่วยผ่าตัดคลอด บริบท การผ่าตัดคลอดเป็นการผ่าตัดที่มากเป็นอันดับ 4 ของ Top 5 การผ่าตัด ปี 2549 = 481 รายปี, 2550 = 626 ราย, ปี 2551 = 630 ราย การผ่าตัดส่วนใหญ่เป็นการผ่าตัดฉุกเฉิน ทำให้มีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อน ทั้งด้านมารดาและทารก

ประเด็นปัญหาและความเสี่ยงสำคัญ ด้านมารดา : เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจนต้องผ่าตัดซ้ำหรือผ่าเอามดลูกออก ปี 2550 = 1 ราย, ปี 2551 = 1 ราย ด้านทารก : เสี่ยงต่อการระบุตัวทารกผิด / ไม่ถูกต้อง ปี 2549 พบ 2 ครั้ง, ปี 2550 พบ 1 ครั้ง, ปี 2551 = 0 ครั้ง

เป้าหมายเครื่องชี้วัดที่สำคัญ ร้อยละของการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการผ่าตัดคลอดจนต้องผ่าตัดซ้ำ หรือผ่าตัดเอามดลูกออก = 0 จำนวนการส่งต่อหรือระบุตัวทารกผิดพลาด = 0

การติดตามผลลัพท์ เครื่องชี้วัด เป้าหมาย ปี 2549 ปี 2550 ปี 2551 (10 เดือน ) 1.ร้อยละของผู้ป่วยผ่าตัดคลอดเกิดภาวะแทรกซ้อนต้องผ่าตัดซ้ำ หรือผ่าตัดเอามดลูกออก 0.02 ( 1 ราย) 0.16 0.15 2.จำนวนครั้งการส่งต่อ หรือระบุตัวทารกผิด 2 ครั้ง 1 ครั้ง

กระบวนการพัฒนาเพื่อให้ได้คุณภาพ มีการทบทวนร่วมกับ PCT สูติ-นรี และทีมงานห้องผ่าตัดทั้งเชิงระบบและเมื่อเกิดความเสี่ยงทางคลินิก ได้ผลลัพท์ 1.จัดทำ care map for c/s ทดลองใช้ ประเมินผลการใช้ ปรับปรุง 3 ครั้ง 2.มีระบบการเตรียมห้องและทีมผ่าตัดฉุกเฉินทั้งในเวลาและนอกเวลา 3.มีระบบการใช้และสำรองเลือดให้เพียงพอ 4.มีระบบการตามทีม แจ้งภาวะฉุกเฉินที่สามารถตามทีม เตรียมห้องให้พร้อมผ่าตัดภายใน 15 นาที

5.มีระบบฝึกทีมผ่าตัดโดยใช้ระบบพี่เลี้ยงจนชำนาญ 6.มีระบบสำรองยาหดรดตัวของมดลูกเพื่อป้องกัน PPH ประจำห้องผ่าตัด 7.มีการติดตามเยี่ยมหลังผ่าตัด 8.มีแนวทางการดูแลทารกผ่าตัดคลอดโดยในรายเสี่ยงสูงมีกุมารแพทย์ร่วมรับทารก 9.ในรายทั่วไปมีแพทย์ GP ร่วมรับทารก

10.มีระบบการเตรียมพร้อมด้านอุปกรณ์การรับทารกให้พร้อม 11.มีการทบทวนและซ้อม CPR ในห้องผ่าตัด 12.การระบุตัวทารกต้องมีการตรวจสอบร่วมกันระหว่างวิสัญญีพยาบาล พยาบาลห้องคลอด ผู้ช่วยรอบนอกงานห้องผ่าตัด 13.มีการค้นหาความเสี่ยง เหตุเกือบพลาด นำมาทบทวนปรับปรุง ป้องกันสม่ำเสมอ

แผนการพัฒนาต่อเนื่อง พัฒนาแนวทางการเยี่ยมผู้ป่วยผ่าตัดคลอดที่มีปัญหาในชุมชน พัฒนาแนวทางการ รับ Refer ผู้ป่วยผ่าตัดคลอดที่มีภาวะฉุกเฉินจากโรงพยาบาลเครือข่าย