การพัฒนางานวิกฤตสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2558

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แผนภูมิที่ 1 จำนวนเหตุการณ์ที่ผู้ได้รับผลกระทบฯ ได้รับการเฝ้าระวังปัญหาการบาดเจ็บทางกาย
Advertisements

สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
กลุ่มตัวชี้วัด : ๑) จำนวนการส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตบริการ ลดลงร้อยละ ๕๐
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
วันที่ถ่ายทอด มีนาคม 2548 สถานที่ถ่ายทอด โรงแรมเทวราช อ.เมือง จ.น่าน
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
การบริการวิกฤตสุขภาพจิตและการปฏิบัติงานทีม MCATTและบทบาทหน้าที่
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
แนวทางการดำเนินงาน และ แผนการดำเนินงาน
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
โรงพยาบาล หน่วยบริการ.
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแล ผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 12.
การดำเนินงานกรมสุขภาพจิต
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
ตัวชี้วัดที่ 3 ระดับความสำเร็จในการพัฒนาบริการผู้ป่วยโรคจิตให้เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นในพื้นที่ เป้าหมาย จำนวนผู้ป่วยโรคจิตที่เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นร้อยละ.
การขับเคลื่อนการดำเนินงานสุขภาพจิตชุมชน
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
สรุปบทเรียนโครงการแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
บันได 3 ขั้น ความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพ
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556
:: Pitfall : การบริหารการพยาบาล ::
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
การดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ตามนโยบาย กระทรวงสาธารณสุข
กรมสุขภาพจิต. สรุปการดำเนินงาน โครงการรวมใจปรองดอง สมานฉันท์ กิจกรรมการ เยียวยาจิตใจ จำนวนรายชื่อผู้ได้รับผลกระทบ ผู้ได้รับบาดเจ็บและ ผู้เสียชีวิต ที่มีชื่อ.
Next step การทำงานขั้นต่อไป ของ หน่วยงานพื้นที่ การทำงานหลังการชี้แจงวันที่ มิถุนายน 2557.
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงฯ เขตฯ10 ประจำปี วันที่ พ. ย ณ รร
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ สำนักนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต ๑-๑๘
ความคาดหวังของเขตสุขภาพต่อการดำเนินงานสุขภาพจิตในพื้นที่
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
ศูนย์พัฒนาเครือข่ายบริการสุขภาพจิตและจิตเวช
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
แนวทางการบูรณาการ โครงการพัฒนาสุขภาพจิตใน เขต 11 และ 13 ประจำปีงบประมาณ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต กลุ่มวัยทำงาน
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
สกลนครโมเดล.
ผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ประชุมประสานแผนทันตฯ จังหวัด หนองบัวลำภู ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ห้องประชุม สสอ. เมือง.
เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
สรุปประเด็น เรื่อง แนวคิดการจัดการรายกรณีเพื่อการดูแลต่อเนื่อง

นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
โรคอาหารเป็นพิษ วันที่ 26 – 27 พฤศจิกายน 2557 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สำนักโรคติดต่อทั่วไป.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ สำนักมาตรการป้องกันสาธารณภัย
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนางานวิกฤตสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2558 การพัฒนางานวิกฤตสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2558 นางณัฐิยา ชมภูบุตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์

ผลลัพธ์การดำเนินงานประจำปี 2557 ในพื้นที่เขตสุขภาพที่ 10 ผลลัพธ์การดำเนินงานประจำปี 2557 ในพื้นที่เขตสุขภาพที่ 10 การดำเนินงานปี 57 มีทีม MCATT คุณภาพ 5 จังหวัด 73 ทีม เป็นทีม MCATT จังหวัด 5 ทีม และ ทีม MCATT อำเภอ 68 ทีม - พัฒนาศักยภาพทีม MCATT ด้านการเจรจาต่อรอง การฝึกซ้อมแผนรับมือสถานการณ์วิกฤต และการให้การปรึกษาทางโทรศัพท์ ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดที่สำคัญ ประชาชนในพื้นที่ประสบภาวะวิกฤต ได้รับการช่วยเหลือเยียวยาจิตใจ จากการประเมินผลในรอบ 1 ปี พบว่า มีทีม MCATT คุณภาพ ร้อยละ 100 - มาตรฐานการปฏิบัติงานของทีม MCATT - คู่มือการปฏิบัติงานของทีม MCATT - คู่มือเยียวยาจิตใจประชาชนในภาวะวิกฤต - คู่มือการเจรจาต่อรองช่วยเหลือบุคคลในภาวะวิกฤต - คู่มือโครงการปรองดองสมานฉันท์ สื่อ องค์ความรู้ และเทคโนโลยี

ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงาน ปี 2557 ทีมผู้ปฏิบัติงานมีความรู้ในการช่วยเหลือเยียวยาจิตใจ ผู้ประสบภาวะวิกฤต แต่บางพื้นที่ยังขาดทักษะ ในการปฏิบัติงาน เนื่องจากประสบการณ์ในการเยียวยาจิตใจค่อนข้างน้อย ไม่มั่นใจในการบันทึก แบบรายงานการเยียวยาจิตใจ พื้นที่ยังไม่สามารถผลิตสื่อเทคโนโลยีด้านวิกฤตสุขภาพจิตได้ ต้องการได้รับการสนับสนุนจากกรมสุขภาพจิต

แผนการพัฒนางานวิกฤต ปีงบประมาณ 2558 ระดับความสำเร็จ ในการพัฒนาบริการผู้ประสบภาวะวิกฤตกลุ่มเสี่ยง ให้เข้าถึงบริการวิกฤตสุขภาพจิต ( เป้าหมาย ร้อยละ 70 ) เตรียมความพร้อมของทีม MCATT ในพื้นที่ - พัฒนาศักยภาพเรื่อง Community Resilience สำหรับ ผู้ปฏิบัติงานวิกฤตสุขภาพจิต ระดับตำบลนำร่อง - ซ้อมแผนวิกฤตสุขภาพจิต และสุขภาพจิตฉุกเฉิน แบบบูรณาการ - สื่อเทคโนโลยีด้านวิกฤตสุขภาพจิต (จากกรมสุขภาพจิต)

แผนการพัฒนางานวิกฤต ปีงบประมาณ 2558 ร่วมประเมินเหตุการณ์ การเยียวยา รายงานผล ( เชิงปริมาณ และคุณภาพ ) และติดตามดูแลต่อเนื่อง นิเทศติดตามเป็นพี่เลี้ยงวิชาการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และสรุปผลการปฏิบัติงาน

ผู้ประสบภาวะวิกฤตกลุ่มเสี่ยง หมายถึง : ผู้ประสบภัยหรือบุคคลในครอบครัวที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์วิกฤต ที่เสี่ยงต่อโอกาสเกิดปัญหาสุขภาพจิต 5 กลุ่ม ประกอบด้วย 1. ครอบครัวผู้เสียชีวิต 2. ผู้บาดเจ็บที่ได้รับการรักษาแบบผู้ป่วยในโรงพยาบาล ผู้พิการและทุพพลภาพ 3. ผู้มีปัญหาสุขภาพจิตที่ต้องได้รับการบำบัดรักษา 4. เด็กที่มีปัญหาด้านสุขภาพจิต และพิการทางกาย 5. ผู้สูงอายุที่ไม่มีผู้ดูแล

การเข้าถึงบริการวิกฤตสุขภาพจิต หมายถึง : ผู้ประสบภาวะวิกฤตกลุ่มเสี่ยงได้รับการประเมินภาวะสุขภาพจิตและเยียวยาด้านจิตใจ อย่างน้อย 1 ครั้ง เมื่อพบว่ามีความเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาสุขภาพจิต จะต้องได้รับการติดตามดูแลต่อเนื่องจนหมดความเสี่ยง เป็นระยะเวลา 1 เดือน 3 เดือน 6 เดือน หรือ 1 ปี ตามมาตรฐาน ทีมให้การช่วยเหลือเยียวยาจิตใจผู้ประสบภาวะวิกฤต

กิจกรรม วิเคราะห์ความเสี่ยงสาธารณภัย /ภาวะวิกฤต ในพื้นที่ จัดทำแผนรับมือสถานการณ์วิกฤต ทบทวนรายชื่อผู้รับผิดชอบหลัก และผู้ปฏิบัติงานทีม MCATT ( แบบฟอร์ม MCC 1 ) จัดทำคำสั่งแต่งตั้งทีม MCATT จัดทำแผนพัฒนาศักยภาพทีม MCATT ( แบบฟอร์ม MCC 2 )

กิจกรรม ซ้อมแผนทีม MCATT บูรณาการร่วมกับทีมที่เกี่ยวข้อง เช่น EMS miniMERT ( แบบฟอร์ม MCC 3 ) รายงานผลการเยียวยาจิตใจผู้ประสบภาวะวิกฤต ( แบบฟอร์ม MCATT.1 / Peer review ) ผลการติดตามกลุ่มเสี่ยงที่ต้องดูแลต่อเนื่อง ในระยะเวลา 1 เดือน / 3 เดือน / 6 เดือน หรือ 1 ปี ( แบบฟอร์ม MCC 4 )

แผนการรับมือสถานการณ์วิกฤตในพื้นที่ อำเภอ / จังหวัด ความเสี่ยงสาธารณภัย / ภาวะวิกฤตในพื้นที่ แผนการรับมือสถานการณ์วิกฤต ของทีม MCATT

แบบสรุปรายงาน ซ้อมแผน MCATT

Peer review

ขอบคุณ ในความร่วมมือ