การพัฒนางานวิกฤตสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2558 การพัฒนางานวิกฤตสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2558 นางณัฐิยา ชมภูบุตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์
ผลลัพธ์การดำเนินงานประจำปี 2557 ในพื้นที่เขตสุขภาพที่ 10 ผลลัพธ์การดำเนินงานประจำปี 2557 ในพื้นที่เขตสุขภาพที่ 10 การดำเนินงานปี 57 มีทีม MCATT คุณภาพ 5 จังหวัด 73 ทีม เป็นทีม MCATT จังหวัด 5 ทีม และ ทีม MCATT อำเภอ 68 ทีม - พัฒนาศักยภาพทีม MCATT ด้านการเจรจาต่อรอง การฝึกซ้อมแผนรับมือสถานการณ์วิกฤต และการให้การปรึกษาทางโทรศัพท์ ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดที่สำคัญ ประชาชนในพื้นที่ประสบภาวะวิกฤต ได้รับการช่วยเหลือเยียวยาจิตใจ จากการประเมินผลในรอบ 1 ปี พบว่า มีทีม MCATT คุณภาพ ร้อยละ 100 - มาตรฐานการปฏิบัติงานของทีม MCATT - คู่มือการปฏิบัติงานของทีม MCATT - คู่มือเยียวยาจิตใจประชาชนในภาวะวิกฤต - คู่มือการเจรจาต่อรองช่วยเหลือบุคคลในภาวะวิกฤต - คู่มือโครงการปรองดองสมานฉันท์ สื่อ องค์ความรู้ และเทคโนโลยี
ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงาน ปี 2557 ทีมผู้ปฏิบัติงานมีความรู้ในการช่วยเหลือเยียวยาจิตใจ ผู้ประสบภาวะวิกฤต แต่บางพื้นที่ยังขาดทักษะ ในการปฏิบัติงาน เนื่องจากประสบการณ์ในการเยียวยาจิตใจค่อนข้างน้อย ไม่มั่นใจในการบันทึก แบบรายงานการเยียวยาจิตใจ พื้นที่ยังไม่สามารถผลิตสื่อเทคโนโลยีด้านวิกฤตสุขภาพจิตได้ ต้องการได้รับการสนับสนุนจากกรมสุขภาพจิต
แผนการพัฒนางานวิกฤต ปีงบประมาณ 2558 ระดับความสำเร็จ ในการพัฒนาบริการผู้ประสบภาวะวิกฤตกลุ่มเสี่ยง ให้เข้าถึงบริการวิกฤตสุขภาพจิต ( เป้าหมาย ร้อยละ 70 ) เตรียมความพร้อมของทีม MCATT ในพื้นที่ - พัฒนาศักยภาพเรื่อง Community Resilience สำหรับ ผู้ปฏิบัติงานวิกฤตสุขภาพจิต ระดับตำบลนำร่อง - ซ้อมแผนวิกฤตสุขภาพจิต และสุขภาพจิตฉุกเฉิน แบบบูรณาการ - สื่อเทคโนโลยีด้านวิกฤตสุขภาพจิต (จากกรมสุขภาพจิต)
แผนการพัฒนางานวิกฤต ปีงบประมาณ 2558 ร่วมประเมินเหตุการณ์ การเยียวยา รายงานผล ( เชิงปริมาณ และคุณภาพ ) และติดตามดูแลต่อเนื่อง นิเทศติดตามเป็นพี่เลี้ยงวิชาการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และสรุปผลการปฏิบัติงาน
ผู้ประสบภาวะวิกฤตกลุ่มเสี่ยง หมายถึง : ผู้ประสบภัยหรือบุคคลในครอบครัวที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์วิกฤต ที่เสี่ยงต่อโอกาสเกิดปัญหาสุขภาพจิต 5 กลุ่ม ประกอบด้วย 1. ครอบครัวผู้เสียชีวิต 2. ผู้บาดเจ็บที่ได้รับการรักษาแบบผู้ป่วยในโรงพยาบาล ผู้พิการและทุพพลภาพ 3. ผู้มีปัญหาสุขภาพจิตที่ต้องได้รับการบำบัดรักษา 4. เด็กที่มีปัญหาด้านสุขภาพจิต และพิการทางกาย 5. ผู้สูงอายุที่ไม่มีผู้ดูแล
การเข้าถึงบริการวิกฤตสุขภาพจิต หมายถึง : ผู้ประสบภาวะวิกฤตกลุ่มเสี่ยงได้รับการประเมินภาวะสุขภาพจิตและเยียวยาด้านจิตใจ อย่างน้อย 1 ครั้ง เมื่อพบว่ามีความเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาสุขภาพจิต จะต้องได้รับการติดตามดูแลต่อเนื่องจนหมดความเสี่ยง เป็นระยะเวลา 1 เดือน 3 เดือน 6 เดือน หรือ 1 ปี ตามมาตรฐาน ทีมให้การช่วยเหลือเยียวยาจิตใจผู้ประสบภาวะวิกฤต
กิจกรรม วิเคราะห์ความเสี่ยงสาธารณภัย /ภาวะวิกฤต ในพื้นที่ จัดทำแผนรับมือสถานการณ์วิกฤต ทบทวนรายชื่อผู้รับผิดชอบหลัก และผู้ปฏิบัติงานทีม MCATT ( แบบฟอร์ม MCC 1 ) จัดทำคำสั่งแต่งตั้งทีม MCATT จัดทำแผนพัฒนาศักยภาพทีม MCATT ( แบบฟอร์ม MCC 2 )
กิจกรรม ซ้อมแผนทีม MCATT บูรณาการร่วมกับทีมที่เกี่ยวข้อง เช่น EMS miniMERT ( แบบฟอร์ม MCC 3 ) รายงานผลการเยียวยาจิตใจผู้ประสบภาวะวิกฤต ( แบบฟอร์ม MCATT.1 / Peer review ) ผลการติดตามกลุ่มเสี่ยงที่ต้องดูแลต่อเนื่อง ในระยะเวลา 1 เดือน / 3 เดือน / 6 เดือน หรือ 1 ปี ( แบบฟอร์ม MCC 4 )
แผนการรับมือสถานการณ์วิกฤตในพื้นที่ อำเภอ / จังหวัด ความเสี่ยงสาธารณภัย / ภาวะวิกฤตในพื้นที่ แผนการรับมือสถานการณ์วิกฤต ของทีม MCATT
แบบสรุปรายงาน ซ้อมแผน MCATT
Peer review
ขอบคุณ ในความร่วมมือ