การติดตาม และการควบคุม (Monitoring and Control)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
การประสานงาน.
การวางแผนพัฒนาระบบสำนักงาน
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
หลักการวางแผนประชาสัมพันธ์
การวิเคราะห์ระบบและวิธีปฏิบัติงาน
Lesson 10 Controlling.
รหัสวิชา กระบวนทัศน์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชนในองค์กร
อาจารย์มณทิพา ทับทิมอ่อน
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร
การถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่ระดับสำนัก/กอง และระดับบุคคล
การติดตามประเมินผล ความหมาย การวัดผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ของพนักงานช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งโดยเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับมาตรฐานที่กำหนดไว้ วัตถุประสงค์
- แผนงานที่ไม่มีโครงการจะเป็นแผนงานที่ไม่มีความสมบูรณ์ ไม่สามารถนำไปปฏิบัติเป็นรูปธรรม
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
การเงิน.
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
นโยบายองค์การ Organisation Policy.
การบำรุงรักษาทรัพยากรมนุษย์
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
Competency Phatthalung Provincial Center for Skill Development.
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
การคำนวณต้นทุนผลผลิต
เพิ่มประสิทธิภาพ ผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ด้านการจัดทำแผนธุรกิจ
ระบบการผลิต ( Production System )
การควบคุม.
สำนักส่งเสริมและ พิทักษ์เด็ก
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
Good Corporate Governance
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสำนักงาน และการบริหารงานสำนักงาน
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
บทที่ 3 Planning.
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
บทบาทของระบบสารสนเทศในองค์การ
มาตรฐานการควบคุมภายใน
สถานประกอบการสร้างเสริมสุขภาพ
การบริหารและกระบวนการวางแผน
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
:: Pitfall : การบริหารการพยาบาล ::
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
การจัดทำดัชนีชี้วัดและ การกำหนดค่าเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ของงาน
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร “ การนิเทศการศึกษา ” สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร 11 – 13 มีนาคม 2552 ณ สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร
วิชาโครงการ 4 หน่วยกิต 2 ชั่วโมง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
การจ่ายค่าตอบแทนให้กับพนักงานขาย
งานสำนักงาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3.
หลักการเขียนโครงการ.
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
การเขียนโครงการ.
บทที่ 7 การดำเนินการผลิตในระบบอุตสาหกรรมเกษตร
บทที่ 3 การตลาด ความหมายของการตลาด
บทที่ 7 การควบคุมเชิงกลยุทธ์
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
การประเมินโครงการ (Project Evaluation)
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การติดตาม และการควบคุม (Monitoring and Control) Yuttana promny

การติดตาม  หมายถึง  กระบวนการของการวัดหรือการตรวจสอบที่ทำเป็นประจำเป็นช่วงๆ 

การวัดและการตรวจสอบดังกล่าวได้แก่  การวัดปัจจัยนำเข้า  (Inputs)  กระบวนการ  (Process)  และผลผลิต  (Outputs) ที่เกิดขึ้นใช่วงการดำเนินงานตามแผน  โดยทั่วไปมักติดตามใน  ด้านการจัดหา การเคลื่อนย้าย  และการนำทรัพยากรของโครงการมาใช้ว่าเป็นไปตามที่กำหนดไว้ในแผนและกำหนดการหรือไม่

วัตถุประสงค์ของการติดตามก็คือ  ต้องการชี้ให้เห็นถึงสถานการณ์ของโครงการให้เร็วที่สุดที่เท่าที่จะเร็วได้  ในเรื่องเกี่ยวกับการใช้ทรัพยากร  การปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ     หรือผลิตผลของโครงการเพื่อจะได้จัดการแก้ไขปรับปรุงสถานการณ์ต่างๆ  ของโครงการที่เป็นไปทันท่วงที 

การติดตามแบ่งได้เป็น 3 ประเภท การติดตามแบ่งได้เป็น  3  ประเภท การติดตามผลการปฏิบัติงาน การติดตามประสิทธิภาพของโครงการ  การติดตามประเมินผลของโครงการ

การติดตามผลการปฏิบัติงาน ได้แก่  การติดตามดูว่าการปฏิบัติงานตามโครงการนั้น ได้ผลงานก้าวหน้าไปในทิศทางที่สอดคล้องกับแผนปฏิบัติงานตลอดจนงบประมาณ           ที่กำหนดไว้หรือไม่

การติดตามประสิทธิภาพของโครงการ  ได้แก่  การศึกษาติดตามดูว่าเมื่อมี การปฏิบัติงานเพื่อให้ ได้ผลผลิตของโครงการออกมานั้น  ได้ใช้กรรมวิธี การผลิต  หรือวิธีดำเนินงาน ที่ประหยัดที่สุดหรือไม่  โดยอาจจะมีการเทียบเคียงให้เห็นสัดส่วน ของผลผลิตกับปัจจัยนำเข้าของโครงการ

การติดตามประเมินผลของโครงการ ได้แก่  การศึกษาติดตามดูว่าการปฏิบัติงานตามโครงการนั้นได้ก่อให้เกิดผลผลิตตามที่กำหนดไว้หรือไม่  และผลผลิตที่เกิดขึ้นดังกล่าวสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการได้มากน้อยเพียงใด

การควบคุม  หมายถึง  กระบวนการที่กระทำให้มั่นใจว่าการปฏิบัติงานได้ดำเนินการไปตามแผนที่กำหนดไว้   หรือถ้าจะให้ความหมายที่ชี้ให้เห็นถึงบทบาทของผู้ควบคุมชัดเจนขึ้นก็หมายถึง  การบังคับให้กิจกรรมต่างๆ  เป็นไปตามแผนที่กำหนดไว้ 

การควบคุมอาจแบ่งตามลักษณะของสิ่งที่ถูกควบคุมออกเป็น 5 ประเภท การควบคุมอาจแบ่งตามลักษณะของสิ่งที่ถูกควบคุมออกเป็น  5  ประเภท การควบคุมผลการปฏิบัติงาน  (Product Control)  การควบคุมบุคลากร  (Personal or Staff Control)  การควบคุมด้านการเงิน  (Financial Control)  การควบคุมทรัพยากรทางกายภาพ  (Control of Physical Resources)  การควบคุมเทคนิควิธีการปฏิบัติงาน  (Control of Techniques or Procedure)

การควบคุมผลการปฏิบัติงาน (Product Control) เป็นการควบคุมผลผลิตของโครงการ  เพื่อจัดการให้โครงการผลิตได้ปริมาณตามที่กำหนดไว้ในแผน  เรียกว่า  การควบคุมปริมาณ  (Quantity Control)  และควบคุมให้ผลผลิตที่ได้มีลักษณะและคุณสมบัติตามที่กำหนดไว้เรียกว่าการควบคุมคุณภาพ  (Quality Control)  การควบคุมในข้อนี้รวมถึงการควบคุมเวลาของโครงการด้วย  คือการควบคุมให้โครงการสามารถผลิตผลงานได้ปริมาณและคุณภาพตามช่วงเวลา ที่กำหนดไว้

การควบคุมบุคลากร (Personal or Staff Control) เป็นการควบคุมพฤติกรรมการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานโครงการ  โดยควบคุมให้ปฏิบัติงานตามวิธีที่กำหนดไว้  และให้เป็นไปตามกำหนดการโครงการ  ควบคุมและบำรุงขวัญพนักงาน  ความประพฤติ  ความสำนึกในหน้าที่และความรับผิดชอบ  ตลอดจนควบคุมด้านความปลอดภัยของพนักงานด้วย

การควบคุมด้านการเงิน (Financial Control) ได้แก่  การควบคุมการใช้จ่าย  (Cost Control)  การควบคุมทางด้านงบประมาณ  (Budget Control)  ตลอดจนการควบคุมทางด้านบัญชีต่างๆ  ทั้งนี้เพื่อให้โครงการเสียค่าใช้จ่ายต่ำสุด  และมีเหตุผลเป็นไปด้วยความบริสุทธิ์ยุติธรรม

การควบคุมทรัพยากรทางกายภาพ (Control of Physical Resources) ได้แก่  การควบคุมการใช้จ่ายทรัพยากรประเภทวัสดุ  อุปกรณ์  เครื่องมือ  อาคารและที่ดินตลอดจนแรงงานในการเป็นปัจจัยนำเข้าของโครงการเพื่อให้เกิดการประหยัดในการใช้ทรัพยากรดังกล่าว

การควบคุมเทคนิควิธีการปฏิบัติงาน (Control of Techniques or Procedure) ได้แก่  การควบคุมกำกับดูแลเทคนิคและวิธีการปฏิบัติงานให้ถูกต้องตามหลักวิชาที่กำหนดไว้  สำหรับการปฏิบัติงานประเภทนั้นๆ  โดยจะต้องควบคุมทั้งเทคนิควิธีที่มองเห็นและเข้าใจง่าย  เช่น  โครงการเกี่ยวกับอุตสาหกรรมและการก่อสร้าง  และเทคนิคที่ค่อนข้างละเอียดอ่อนและเป็นนามธรรม  เช่น  โครงการพัฒนาสังคม  วัฒนธรรม  การส่งเสริมประชาธิปไตย  หรือโครงการพัฒนาชนบท เป็นต้น

ความสำคัญของการติดตามและการควบคุม เพื่อให้แผนบรรลุเป้าหมายและวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้  ช่วยประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย  ช่วยกระตุ้นจูงใจและสร้างขวัญกำลังใจให้ผู้ปฏิบัติงาน ช่วยป้องกันและความเสียหายรุนแรงที่อาจจะเกิดขึ้นได้  ทำให้พบปัญหาที่อาจเกิดขึ้นเนื่องมาจากโครงการนั้น  ให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายได้เห็นเป้าหมายวัตถุประสงค์หรือมาตรฐานของงานได้ชัดเจน  

สวัสดี