หลักการวัดและประเมินผล การเรียนรู้ - เพื่อพัฒนาผู้เรียนและตัดสิน ผลการเรียน - สอดคล้องครอบคลุมมาตรฐานการ เรียนรู้ / ตัวชี้วัด - ดำเนินการหลากหลายวิธี เหมาะสมกับสิ่งวัด.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผลการทดสอบทาง การศึกษาระดับชาติขั้น พื้นฐาน และข้อเสนอเพื่อการพัฒนา โดย กลุ่มงานวัดและประเมินผล การศึกษา กลุ่มนิเทศ ติดตามและ ประเมินผลการจัดการศึกษา.
Advertisements

การแก้ปัญหานักเรียนที่ไม่จบหลักสูตร งานวัดผล โรงเรียนสุราษฎร์ธานี
ปฐมนิเทศ การเขียนโปรแกรม ง30202.
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ O-NET
แนวคิดการจัดการเรียนรู้ และมาตรฐาน งานการวัดและประเมินผล ในสถานศึกษา
มาตรการพัฒนาและบริหารกำลังคน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพระบบราชการ
ข้อบังคับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ว่าด้วยการศึกษาชั้นปริญญาตรี พ.ศ. 2540
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
หลักการพัฒนา หลักสูตร
ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย
การวางแผนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ฝ่ายวิชาการ โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
คุณภาพการประเมินนักเรียนและสถานศึกษา เพื่อรับรางวัลพระราชทาน
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การประเมินผลการเรียน
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
การวัดและประเมินพัฒนาการของผู้เรียน
แนวคิด หลักการ ของการประเมินเพื่อการพัฒนา
ดร.เชาวฤทธิ์ จงเกษกรณ์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพม.๔๒
ปีการศึกษา 2555 กับ ปีการศึกษา 2556
ตัวชี้วัดที่ 2.4 ระดับความสำเร็จของการจัดทำระบบการบริหารความเสี่ยงและการควบคุม-ภายใน ประจำปีงบประมาณ 2557.
สิ่งที่หน่วยงานต้องดำเนินการ  ศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับกรอบ การประเมินผล ชี้แจงทำความเข้าใจและ มอบหมายงานให้ผู้ที่ เกี่ยวข้องรับผิดชอบ ดำเนินการ  จัดทำคำรับรองระดับหน่วยงาน.
1 ปี มก. กำหนดให้เป็นปีแห่ง การพัฒนาคุณภาพและ จัดการวิชาการ ปี มก. กำหนดให้เป็นปีแห่ง การพัฒนาคุณภาพและ จัดการวิชาการ ศาสตราจารย์ ดร.
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
การกำหนดเกณฑ์ ประเมินคุณภาพภายใน
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
ประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขการให้ความเห็นชอบรายละเอียดเกี่ยวกับการฝึกเตรียมเข้าทำงาน ประกาศราชกิจจานุเบกษา.
หมวดที่ 2 การลงทะเบียนเรียน
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
การดำเนินการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (O-NET)
การวัดผล (Measurement)
ข้อเสนอแนะและปัจจัยแห่งความสำเร็จ
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
แนวคิดในการทำวิจัย.
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
ตามยุทธศาสตร์การพัฒนายกระดับผลสัมฤทธิ์
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การยกระดับคุณภาพ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
ประชุมประจำเดือนตุลาคม
ชื่อเรื่อง. ผลของการพัฒนาความรับผิดชอบของนักเรียนกลุ่มอ่อน
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร อ32204
เพื่อการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร.พันธ์ ทองชุมนุม
การประชุม ผู้ปกครองนักเรียน ชั้น ม.1 ปีการศึกษา 2557
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
ความคิดเห็นที่มีต่อการ ประเมินผลการปฏิบัติงานของ บุคลากรวิทยาลัยเทคโนโลยี ฐานเทคโนโลยี บรรยวัสถ์ สินทรัพย์
คำนึง อุยตระกูล กศน.อำเภอบ้านไผ่
ผลแห่งความสำเร็จ 3 ห หลักเกณฑ์ หลักการ หลักฐาน.
การนำเสนอและการประเมินผลโครงงาน
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์วิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 3 เรื่องอัตราส่วนตรีโกณมิติโดยใช้ชุดฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับชั้น ปวช.2 แผนกช่างอุตสาหกรรม.
ใช้สำหรับการปฏิบัติงานตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2553 เป็นต้นไป
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาทักษะการต่อวงจรการทำงานแบบอัตโนมัติกระบอกสูบแบบสองทางใน วิชางานนิวแมติกส์และไฮดรอลิกส์ โดยวิธีการใช้วงจรฝึกปฏิบัติพร้อมแบบประเมินผลของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่
จัดทำโดย น.ส. อมรทิพย์ พึ่งเพียร
สำหรับโรงเรียนจัดตั้งใหม่ให้พิจารณาตามความต่อเนื่อง
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
การประชุม ผู้ปกครองนักเรียน ชั้น ม.2 ปีการศึกษา 2557
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
เรื่อง ปรับแก้ตารางสอน ภาคเรียนที่ 1/2554
การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร เพื่อพัฒนาความพร้อมในวิชาชีพ
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกการอ่านของนักเรียนระดับ ปวช
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
ข้อบังคับมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีสุรนารี ว่าด้วยการศึกษาขั้นปริญญาตรี พ. ศ
การใช้ข้อสอบกลางในการ สอบปลายปี
รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาทักษะการใช้เวอร์เนียร์ไฮเกจ ร่างแบบชิ้นงานโดยใช้ชุดฝึกทักษะ วิชางานฝึกฝีมือ ของนักเรียนช่างไฟฟ้า สาขางานไฟฟ้ากำลัง ชั้นปีที่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลักการวัดและประเมินผล การเรียนรู้ - เพื่อพัฒนาผู้เรียนและตัดสิน ผลการเรียน - สอดคล้องครอบคลุมมาตรฐานการ เรียนรู้ / ตัวชี้วัด - ดำเนินการหลากหลายวิธี เหมาะสมกับสิ่งวัด ธรรมชาติวิชา ตั้งอยู่บนพื้นฐานความเที่ยงตรง ยุติธรรม เชื่อถือได้ - ผู้เรียน ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องสามารถตรวจสอบ ผล การประเมินผลการเรียนได้

วิธีประเมินผลการ เรียน - กำหนดเกณฑ์สำหรับผลการประเมิน เกณฑ์การผ่านตัวชี้วัด - ประเมินระหว่างเรียน เน้นตามสภาพจริง สอดคล้องกับ แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้ บรรลุตามตัวชี้วัด - การประเมินสรุปผลการเรียน มุ่งตรวจสอบ ความสำเร็จของ ผู้เรียน และเพื่อยกระดับผลการเรียนให้ ผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ

การให้ 0, ร การให้นักเรียนได้ 0 ต้องเป็น 0 แท้ อย่า ให้เป็น 0 เทียม การให้นักเรียนได้ ร มี 2 กรณี 1. นักเรียนขาดสอบปลายภาค 2. นักเรียนไม่ส่งงานชิ้น สำคัญ กรณีที่ 2 ผู้สอนต้องส่งเอกสารต่องานวัดผล เพื่อขออนุญาตต่อผู้อำนวยการและต้องแจ้งให้ นักเรียนทราบ ช่วงต้นภาคเรียน นักเรียนได้ ร เพราะเหตุสุดวิสัย จากการขาดสอบ ปลายภาค / ไม่ส่งงานชิ้นสำคัญ ด้วยเหตุเจ็บป่วย อุบัติเหตุ เป็นต้น ให้แจ้งงานวัดผล โรงเรียนจะ ประกาศเป็นลายลักษณ์อักษร

การให้ มส, มผ การให้ มส มี 2 กรณี 1. เวลาเรียนไม่ครบร้อยละ 80 ของ เวลาเรียนจริง นักเรียนสามารถยื่นคำร้องขอมี สิทธิสอบได้ โดยผู้สอนเป็นผู้ พิจารณาชั้นต้น และเสนอโรงเรียน พิจารณาเห็นชอบและเพื่อประกาศ

หลักเกณฑ์การพิจารณาอนุญาตให้เข้า สอบสำหรับครูผู้สอ น จำนวนคาบสัปดาห์ร้อยละ 80 ( ขาดได้ / คาบ ) ร้อยละ 60 ( ขาดได้ / คาบ ) 11818*.8 = 14.4 (4) 18*.6 = 10.8 (7) 11919*.8 = 15.2 (4) 19*.6 = 11.4 (7) 21836*.8 = 28.8 (7) 36*.6 = 21.6 (14) 21938*.8 = 30.4 (8) 38*.6 = 22.8 (15)

การพิจารณาอนุญาตให้สอบ ของครูผู้สอน พิจารณาเฉพาะนักเรียนที่มีเวลาเรียนไม่ครบ ร้อยละ 80 เท่านั้น กรณีวิชา 2 คาบ / สัปดาห์ เรียนจริง 18 สัปดาห์ นักเรียนขาดได้ 7 คาบ หมายถึงพิจารณาเฉพาะนักเรียนที่ ขาด 8 – 14 คาบ สิทธิของครูผู้สอนพิจารณาอนุญาตได้ ภายในกรอบ คือ จำนวนคาบที่ขาดได้ + ครึ่งหนึ่ง ของคาบที่ขาดได้ กรณีนี้คือ = 10.5 เศษปัดทิ้ง เหลือเพียง 10 คาบ นักเรียนที่ขาด 8 – 10 คาบครูผู้สอนพิจารณาให้ สอบ โรงเรียนให้สอบ นักเรียนที่ขาด 11 – 14 คาบ ครูผู้สอน พิจารณาให้สอบ โรงเรียน ไม่ให้สอบ

ทำไมนักเรียนสอบ ไม่ผ่าน การติดตามผลการได้ผลการเรียน 0, ร, มส, มผ ของ สพฐและ สพม.16 สาเหตุมา จาก ตัวนักเรียน ครูผู้สอน เครื่องมือวัด สพฐ. และ สพม.16 เน้นที่ ครูผู้สอนและ เครื่องมือวัด

นักเรียนต้องผ่านทุก ตัวชี้วัด หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 หน่วยที่ 3 คะแนนปลายภาค ประเมิน ปกติ คะแนนกลาง ภาค ตัดสินผล ปรับคะแนน ระหว่างภาคเรียน ถ้าครูผู้สอนทำอย่างนี้ ก็น่าจะมี คำตอบให้ สพม.16 ปรับ คะแนน