กลุ่มที่ 2 เขต 2, 3 และ 4.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
Advertisements

เกษตรกรรุ่นใหม่ และ Smart Farmer
ประเด็นเน้นหนัก โครงการส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจชุมชน 2550
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
เพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ คชก.
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
การวางแผนและการดำเนินงานส่งเสริม
โครงการตามแผนปฏิบัติงาน
7 องค์ประกอบ มีการรับรู้และมุมมองที่เหมือนกัน การมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
หลักเกณฑ์การคัดเลือก 1. มีกิจกรรมการเลี้ยงสัตว์ที่ประสบผลสำเร็จ
วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.
แนวคิดการส่งเสริมปศุสัตว์ไทย
โครงการพัฒนาปศุสัตว์อินทรีย์ ปี 2555
กระบวนการจัดการความรู้
กลุ่มพัฒนาเทคโนโลยีการปศุสัตว์
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
เพิ่มประสิทธิภาพ ผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ด้านการจัดทำแผนธุรกิจ
ขับเคลื่อนนวัตกรรม ด้วยการเข้าใจตลาดและผู้ใช้
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เสริมสร้างความยั่งยืน ทางด้านเศรษฐกิจของจังหวัด เศรษฐกิจจังหวัดขยายตัว
การพัฒนากลุ่มแม่บ้านเกษตรกร เป็นเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer)
Strategy Plan  ออม  การลงทุน  แก้ความจน ช่วยสังคม  เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย กำไร ความเข้มแข็ง ความ มั่นคง ทางการเงิน อย่างสมดุล / ยั่งยืนต่อเนื่อง ความเข้มแข็ง.
คุณสมบัติ ของ Smart Farmer -  1. รายได้ไม่ต่ำกว่า 180,000 บาท/ครัวเรือน/ปี  2. ผ่านคุณสมบัติพื้นฐาน (ผ่านอย่างน้อย 1 ตัวบ่งชี้ ของคุณสมบัติแต่ละด้าน)
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
สำนักงาน กศน. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
“โครงการสร้างสุขระดับจังหวัด….” จากแผนงานสร้างเสริมสุขภาพจิต(สสส.)
ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม.
การจัดเก็บข้อมูลเกษตรกรรายครัวเรือน
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลโฆษิต อำเภอ ตากใบ จังหวัดนราธิวาส ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย วัฒนา แดงสุวรรณ เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาลำไยหริภุญชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แนวทางการพัฒนาคลินิก DPAC
มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรให้ปลอดภัยและได้มาตรฐาน
โครงการพัฒนาระบบการผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ดี
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน
วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อเพิ่มพูนความรู้เรื่องการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสานให้กับเกษตรกร ๒.เพื่อให้เกษตรกรสามารถจัดการศัตรูพืชได้ด้วยตัวเองอย่างยั่งยืน.
โครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ
โครงการผลักดันการส่งออกกล้วยไม้
โครงการบริหารการจัดการศัตรูพืชและการเขตกรรมเพื่อลดความเสี่ยงให้กับเกษตรกร สำนักพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตร.
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร
วิจัยเพื่อชุมชน : การประเมินและถ่ายทอดเทคโนโลยีเกษตรยั่งยืน
กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
คณะกรรมการพัฒนาวิชาการและงานวิจัย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
(กิจกรรมการเลี้ยงโคเนื้อ)
นโยบาย ให้ความสำคัญกับเรื่องการเพิ่มมูลค่าผลผลิต ทั้ง แปรรูปเป็นอาหาร และเป็นผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการส่งเสริมการบริโภค และขยายการตลาด เน้นการขับเคลื่อนกิจกรรมที่
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
สัมมนากลุ่ม 3 คำถามข้อที่ 2 และ 5 เขต 7, 8, 9 21/8/14.
Knowledge Management องค์ความรู้เรื่อง “ การส่งเสริมงานวิสาหกิจชุมชนของสำนักงาน เกษตรอำเภอเมืองราชบุรี ” ความสำคัญ ถอดองค์ความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมงาน.
ประชุมสัมมนา เจ้าหน้าที่ส่งเสริมปศุสัตว์สู่ Smart Officer
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
สถานีวิจัยทดสอบพันธ์สัตว์นครพนม 30 มิถุนายน 2557
ผลการดำเนินงานวิจัยกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จังหวัดตรัง
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ด้านครูและบุคลากรทางการศึกษา
การดำเนินงาน หมู่บ้านสารสนเทศต้นแบบ เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต
การออมความดี กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ ดำเนินการแล้วอยู่ระหว่างดำเนินการยังไม่ดำเนินการ ประชุมชี้แจงแนว ทางการดำเนินงาน 1 ติดตามประเมินผล รายงานกรมฯ.
กิจกรรมพัฒนาตลาดและเครือข่ายการผลิต
กลุ่มที่ กลุ่มที่ 9 สองแคว โครงการส่งเสริม สินค้าเกษตรที่ ปลอดภัยและได้ มาตรฐาน ( ข้าว ) วิทยากรประจำกลุ่ม อ. พล ภัทร วารี ผู้ช่วยวิทยากร นาย สมชาย ชะฎาดำ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่มที่ 2 เขต 2, 3 และ 4

ข้อ 3. ท่านมีแนวทางการปฏิบัติงานในระดับพื้นที่ เพื่อสร้าง Smart Farmer ให้บรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการในปี 2558 ทอย่างไร ข้อ 4. กรมปศุสัตว์มีนโยบายในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์รายชนิดสัตว์ (โคเนื้อ-กระบือ) ด้านการปรับปรุงรูปแบบการเลี้ยงโคเนื้อ-กระบือแบบประณีต (Intensive Farming) ท่านมีแนวทางในการนำรูปแบบดังกล่าวไปขยายผลอย่างไร

ข้อ 3. ท่านมีแนวทางการปฏิบัติงานในระดับพื้นที่ เพื่อสร้าง Smart Farmer ให้บรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการในปี 2558 ทอย่างไร แบ่งกกลุ่ม Smart Farmer เป็น 4 ประเภทตามที่กรมปศุสัตว์กำหนด คัดเลือกเกษตรกรโดยยึดหลักคุณสมบัติ 6 ข้อ คัดเลือกจากกลุ่มเกษตรกร Developing Smart Farmer คัดเลือกเกษตรกรตาม Zonning สัตว์ในแต่ละพื้นที่ คัดจัดสร้างหลักสูตรการพัฒนาแล้วนำรูปแบบดังกล่าวไปปฏิบัติ โดยแยกตามประเภทของ Smart Farmer ต่อไป

5. คัดเลือกเกษตรกรจากกลุ่มเลี้ยงสัตว์เดิม 6. คัดเลือกเกษตรกรจากเกษตรกรหัวก้าวหน้า 7. คัดเลือกเกษตรกรจากกลุ่มเกษตรกรที่ขึ้นทะเบียนกับกรมปศุสัตว์ 8. ใช้แนวทางเดิมจากปี 57 แล้วไปตรวจสอบรายชื่อเกษตรกรกับ กษ.จังหวัด พร้อมกับดูตาม Zonning สัตว์ แล้วค่อยเข้าไปพัฒนา 9. คัดเกษตรกรรุ่นใหม่ที่เป้นทายาทของ Smart Farmer ต้นแบบ เพื่อพัฒนาเพิ่มรายได้ 10. คัดจากเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาเกษตรกร

โดยมีแนวทางการพัฒนาดังนี้ ถอดบทเรียนจาก Smart Farmer ต้นแบบ แล้วนำไปเผยแพร่/ขยายผลสู่รายอื่น ต่อไป ทำ Smart Planning เพื่อหาปัญหาและหาแนวทางแก้ไขปัญหาต่างๆ ในกลุ่มนั้นต่อไป สนับสนุนกิจกรรม โครงการ ปัจจัยอื่นๆ เพื่อสร้างรายได้และเพิ่มความมั่นคงยั่งยืนต่อไป เสริมศักยภาพให้ Smart Farmer ต้นแบบ โดยเพิ่มองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ เข้าไป

โดยมีแนวทางการพัฒนาดังนี้ 4. เสริมศักยภาพให้ Smart Farmer ต้นแบบ โดยเพิ่มองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ เข้าไป 5. สร้างตลาด และ Brand เฉพาะของสินค้าจาก Smart Farmer ต้นแบบ

ข้อ 4. กรมปศุสัตว์มีนโยบายในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์รายชนิดสัตว์ (โคเนื้อ-กระบือ) ด้านการปรับปรุงรูปแบบการเลี้ยงโคเนื้อ-กระบือแบบประณีต (Intensive Farming) ท่านมีแนวทางในการนำรูปแบบดังกล่าวไปขยายผลอย่างไร

ข้อ 4. (ต่อ) นำบทเรียนที่ถอดมาจาก Smart Farmer ต้นแบบ มาเผยแพร่แก่ Smart Farmer และเกษตรกรรายอื่นๆ ต่อไป ศึกษาข้อมูลการเลี้ยงสัตว์ของเกษตรกร และทำ Smart Planning เพื่อหาแนวทางการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ จัดทำโครงการเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณสจากแหล่งเงินทุนและหน่วยงานต่าง ๆ จัดตั้งฟาร์มต้นแบบ เป็นศูนย์เรียนรู้ต้นแบบ แล้วนำเกษตรกร Smart Farmer และเกษตรกรรายอื่น ๆ เข้าไปศึกษาดูงาน

ข้อ 4. (ต่อ) 5. สร้างเครือข่ายการผลิตและการตลาด 6. นำองค์ความรู้ต่าง ๆ ที่ได้จากการถอดบทเรียนจาก Smart Farmer ต้นแบบทำเป็นเอกสารเผยแพร่ต่อไป 7. จัดประกวดองค์ความรู้และนวัตกรรมใหม่จาก Smart Farmer ต้นแบบทั้งหลาย แล้วมีรางวัลให้ เป็นการสร้างแรงจูงใจ 8. ค้นหาเทคโนโลยีและองค์ความรู้และนวัตกรรมใหม่ ๆ ที่เกิดขึ้นในฟาร์มต้นแบบ อาทิ สูตรอาหารเลี้ยงสัตว์ใหม่ ๆ , วิธีการจัดการรูปแบบใหม่ และหรือวิธีการบริหารจัดการพื้นที่แบบใหม่ ๆ เพื่อเกิดประสิทธิภาพสูงสุด สร้างรายได้ และช่วยลดต้นทุนการผลิตได้ดี

ข้อ 4. (ต่อ) 9. ทำพันธุ์ประวิตสัตว์ทุกตัวในฟาร์ม เพื่อเป็นการเก็บข้อมูลแล้วนำข้อมูลนั้นมาวิเคราะห์ แล้วหาทางแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ต่อไป 10. จัดประกวดผลผลิต เช่น ประกวดผลิตภัณฑ์ ประกวดเนื้อ หรือประกวดแบรนด์สินค้าต่อไป 11. พัฒนาเป็นฟาร์มท่องเที่ยวในอนาคตต่อไป ซึ่งสามารถทำได้

Action Plan

หน่วยงาน ปี พ.ศ. 2557 ปี พ.ศ. 2558 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. 1.แต่งตั้งคณะทำงาน * 2.สำรวจและประเมินคุณสมบัติ Smart Farmer 3.จำแนกเกษตรกร 4.ถอดบทเรียน Smart farmer ต้นแบบ 5.ดำเนินการเพิ่มพูนความรู้ 6.ติดตามการพัฒนาและ ประเมินผล 7.การมอบประกาศนียบัตรให้ 8.ถอดบทเรียนวิธีดำเนินการ 9.ถอดบทเรียนวิธีดำเนินงาน - แบบ SF1 - แบบ SF2 - แบบ SF3 - แบบ SF4