ผลการกระตุ้นระดับการไหลของนมแม่และลดภาวะคัดตึงเต้านม ในมารดาหลังคลอดด้วยชั้นในไออุ่น (Compress brassiere) นางสาวฮัสนีย์ ดอเล๊าะ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชสายบุรี
หลักการและเหตุผล ประคบความร้อน ถั่วเขียว ใช้ผ้าขนหนูประคบ Compress Brassiere หลักการและเหตุผล ใช้ผ้าขนหนูประคบ - ยุ่งยาก - เปียกชื้น - เก็บความร้อนได้ระยะสั้น - ภาวะคัดตึงเต้านม - น้ำนมไม่ไหล/ไหลน้อย - ลดภาวะคัดตึงเต้านม - เพิ่มระดับการไหลของน้ำนม ประคบความร้อน ถั่วเขียว - เก็บความร้อนได้ดี - ช่วยในการนวด
วัตถุประสงค์ เพื่อเพิ่มระดับการไหลของน้ำนมมารดาหลังคลอด Compress Brassiere วัตถุประสงค์ เพื่อเพิ่มระดับการไหลของน้ำนมมารดาหลังคลอด เพื่อลดภาวะคัดตึงเต้านมในมารดาหลังคลอด
พัฒนาการประคบร้อนกระตุ้นเต้านมลดอาการคัดตึง Compress Brassiere พัฒนาการประคบร้อนกระตุ้นเต้านมลดอาการคัดตึง ประคบด้วยผ้าชุบน้ำอุ่น ประคบด้วยแผ่นถุงถั่วเขียว ชั้นในไออุ่น
เกลียวสว่านของการพัฒนาระยะที่ 1 Compress Brassiere เกลียวสว่านของการพัฒนาระยะที่ 1 Plan Action Do -มีความยุ่งยาก -เปียกชื้น -เก็บความร้อนได้ระยะสั้น Study
เกลียวสว่านของการพัฒนาระยะที่ 2 Compress Brassiere เกลียวสว่านของการพัฒนาระยะที่ 2 Plan Action Do - ถั่วเขียวไหม้ได้ง่าย - แผ่นถั่วเขียวไม่คงรูป - ความร้อนจากถั่วเขียวสัมผัสผิวหนังโดยตรง Study
เกลียวสว่านของการพัฒนาระยะที่ 3 Compress Brassiere เกลียวสว่านของการพัฒนาระยะที่ 3 Plan Do Action - ถั่วเขียวกระจายตัวไม่สม่ำเสมอ Study
เกลียวสว่านของการพัฒนาระยะที่ 4 Compress Brassiere เกลียวสว่านของการพัฒนาระยะที่ 4 Plan Do Action - ต้องใช้มือช่วยประจับขณะใช้ - ไช้งานไม่สะดวก Study
Compress Brassiere วิธีการนำไปใช้ นำแผ่นถั่วเขียวไปอบในเตาไมโครเวฟ ใช้ความร้อนสูง 800วัตต์โดยใช้ระยะเวลาในการอบตามวัตถุประสงค์การใช้
ระยะเวลาการอบแผ่นถั่วเขียวตามวัตถุประสงค์การใช้ Compress Brassiere ระยะเวลาการอบแผ่นถั่วเขียวตามวัตถุประสงค์การใช้ และระยะเวลาการเก็บความร้อนของแผ่นถั่วเขียว วัตถุประสงค์การใช้ ระยะเวลาอบ อุณหภูมิ ระยะเวลาเก็บความร้อน ระยะเวลาใช้งาน ลดภาวะคัดตึงเต้านม 1 นาที 67-70 °c 7-10 นาที 8-10 นาที กระตุ้นการไหลของน้ำนม 30 วินาที 44-46 °c 4-5 นาที
วิธีการศึกษา รูปแบบและขอบเขตการศึกษา: ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง: Compress Brassiere วิธีการศึกษา รูปแบบและขอบเขตการศึกษา: ศึกษาทดลองในกลุ่มหญิงหลังคลอด 48 ชั่วโมง ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง: หญิงหลังคลอดที่มีภาวะน้ำนมไหลน้อย (Lath score ≤ 1) กลุ่มทดลอง 68 คน กลุ่มควบคุม 36 คน หญิงหลังคลอดที่มีภาวะคัดตึงเต้านม(ระดับคะแนนภาวะคัดตึงเต้านม > 10 (ประยุกต์จาก Hill and Humanic score)) กลุ่มทดลอง 28 คน กลุ่มควบคุม 26 คน ระยะเวลาในการศึกษา: ตุลาคม 2552 – เมษายน 2553 การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติ: Odds Ratio แ
Compress Brassiere ผลการศึกษา
Compress Brassiere ผลการศึกษา
ผลการวิเคราะห์ระดับการไหลของน้ำนมมารดาที่เพิ่มขึ้น Compress Brassiere ผลการศึกษา ผลการวิเคราะห์ระดับการไหลของน้ำนมมารดาที่เพิ่มขึ้น 56 12 68 20 16 36 เพิ่มขึ้น ไม่เพิ่มขึ้น กลุ่มทดลอง กลุ่มควบคุม OR = 3.73
ผลการวิเคราะห์ภาวะคัดตึงเต้านมที่ลดลง Compress Brassiere ผลการศึกษา ผลการวิเคราะห์ภาวะคัดตึงเต้านมที่ลดลง 24 4 28 16 10 26 ลดลง ไม่ลดลง กลุ่มทดลอง กลุ่มควบคุม OR = 2.50
Compress Brassiere สรุปผล การประคบเต้านมด้วยชั้นในไออุ่นสามารถเพิ่มระดับการไหลของน้ำนมได้มากกว่าการใช้ผ้าชุบน้ำอุ่น 3.73 เท่า การประคบเต้านมด้วยชั้นในไออุ่นสามารถลดภาวะคัดตึงเต้านมในมารดาหลังคลอดได้มากกว่าการใช้ผ้าชุบน้ำอุ่น 2.5 เท่า
ประโยชน์ของผลงาน เพิ่มระดับการไหลของน้ำนมมารดาหลังคลอด Compress Brassiere ประโยชน์ของผลงาน เพิ่มระดับการไหลของน้ำนมมารดาหลังคลอด ลดภาวะคัดตึงเต้านมในมารดาหลังคลอด เพิ่มความสะดวกในการประคบเต้านมในมารดาหลังคลอด สามารถลดระยะเวลาการทำงานของเจ้าหน้าที่ ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ให้ประสบผลสำเร็จ
Compress Brassiere บทเรียนที่ได้รับ ใช้ทรัพยากรใกล้ตัวมาใช้ให้เกิดประโยชน์ อย่างมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผลทั้งต่อเจ้าหน้าที่และผู้ป่วย ใช้ความคิดสร้างสรรค์ปรับปรุง พัฒนารูปแบบงานประจำ ให้เกิดความคุ้มค่า และสะดวกมากขึ้น สามารถต่อยอดผลงานโดยใช้ถั่วเขียวพัฒนาเป็นรูปแบบอื่นๆเช่นเป็นแผ่นประคบลดปวด เป็นต้น สามารถประยุกต์จากถั่วเขียวเป็นธัญพืชชนิดอื่นที่มีคุณสมบัติเก็บความร้อนได้ดี ใกล้เคียงกับถั่วเขียว เช่นปลายข้าว ปลายข้าวเหนียว เป็นต้น
ขอบคุณค่ะ.....