เรื่อง สมาร์ทคิดกับคณิตศาสตร์ โครงงาน เรื่อง สมาร์ทคิดกับคณิตศาสตร์ วิชา ง 32201 (คอมพิวเตอร์) เสนอ ครู วรวรรณ เหรียญทอง
วงกลมพิศวง วงกลม วงรี วงกลม คือ เซตของจุดทุกจุดบนระนาบซึ่งอยู่ห่างจากจุดคงที่จุดหนึ่งบนระนาบเดียวกันเป็นระยะทางเท่าๆกัน
ส่วนต่างๆของวงกลม 1. จุดคงที่ O เรียกว่า จุดศูนย์กลาง D X E ส่วนต่างๆของวงกลม O A B C D E X A B 1. จุดคงที่ O เรียกว่า จุดศูนย์กลาง 2. ส่วนของเส้นตรง OC เรียกว่า รัศมี 3. ส่วนของเส้นตรง DE เรียกว่า คอร์ด 4. ส่วนของเส้นตรง AB เรียกว่า เส้นผ่านศูนย์กลาง 5. ส่วนของเส้นตรง OX เรียกว่า ระยะที่คอร์ดห่างจากจุดศูนย์กลาง C
สามเหลี่ยมเสรี ชนิดของสามเหลี่ยม สามเหลี่ยมหน้าจั่ว สามเหลี่ยมหน้าจั่ว สามเหลี่ยมด้านไม่เท่า สามเหลี่ยมด้านเท่า รูปสามเหลี่ยมแบ่งชนิดตามความยาวของด้านได้ดังนี้ รูปสามเหลี่ยมด้านเท่า มีด้านทุกด้านยาวเท่ากัน รูปสามเหลี่ยมด้านเท่าจะเป็นรูปมุมเท่าอีกด้วย นั่นคือ มุมภายในทุกมุมจะมีขนาดเท่ากัน คือ 60° รูปสามเหลี่ยมหน้าจั่ว มีด้านสองด้านยาวเท่ากัน รูปสามเหลี่ยมหน้าจั่วจะมีมุมสองมุมมีขนาดเท่ากัน รูปสามเหลี่ยมด้านไม่เท่า ด้านทุกด้านจะมีความยาวแตกต่างกัน มุมภายในในรูปสามเหลี่ยมด้านไม่เท่าจะมีขนาดเแตกต่างกัน
สามเหลี่ยมมุมฉาก สามเหลี่ยมมุมแหลม สามเหลี่ยมมุมป้าน สามเหลี่ยมมุมฉาก สามเหลี่ยมมุมแหลม สามเหลี่ยมมุมป้าน รูปสามเหลี่ยมมุมฉาก มีมุมภายในมุมหนึ่งมีขนาด 90° (มุมฉาก) ด้านที่อยู่ตรงข้ามกับมุมฉาก คือ ด้านตรงข้ามมุมฉาก ซึ่งเป็นด้านที่ยาวที่สุดในรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก อีกสองด้าน คือ ด้านประกอบมุมฉาก รูปสามเหลี่ยมมุมป้าน มีมุมภายในมุมหนึ่งมีขนาดใหญ่กว่า 90° (มุมป้าน) รูปสามเหลี่ยมมุมแหลม มุมภายในทุกมุมมีขนาดเล็กกว่า 90° (มุมแหลม
เรขาคณิตคิดง่ายๆ ง่ายนิดเดียว
เรขาคณิตหาง่ายที่สุด เช่น โทรทัศน์ กรอบรูป
ประตู ไข่
สรุป รูปทรงกลม ลูกบอล แก้วน้ำ ภาชนะถ้วยชามต่าง ๆ ประกอบเป็นรูปร่างแบบต่าง ๆ ดังนั้นการจะอธิบายหรือออกแบบสิ่งต่าง ๆ จำเป็นต้องอาศัยทฤษฎีทางเรขาคณิต ปัจจุบันประเทศไทยกำลังจะมีรถไฟใต้ดิน ลองนึกดูว่า ถ้าจะเจาะอุโมงค์ จากที่หนึ่งให้ทะลุหรือชนกับการเจาะมาจากอีกแนวหนึ่งได้ ต้องใช้หลักการทางเรขาคณิตมาช่วย นักคณิตศาสตร์ เริ่มจากการกำหนดจุด จุดซึ่งไม่มีขนาด ไม่มีมิติ และถ้าเราให้จุดเคลื่อนที่แนวทางการเคลื่อนที่ของจุด ก่อให้เกิดเส้น หากหยิบแผ่นกระดาษมาหนึ่งแผ่น ผิวของแผ่นกระดาษเรียกว่าระนาบ รูปที่เกิดบนกระดาษนี้เรียกว่ารูประนาบ และถ้าดูที่ผิวของถ้วยแก้วที่เป็นรูปทรงกระบอก เราก็จะเห็นผิวโค้ง ซึ่งเราอาจมองรูปผิวโค้งของถ้วยแก้วในลักษณะสามมิติ รูปต่างๆในโลกจัดเป็นรูปเรขาคณิตทั้งสิ้นไม่ว่าจะเป็นสิ่งมีชีวิตหรือไม่มีชีวิตก็ตาม
เว็ปไซต์อ้างอิง http:// th.wikipedia.org/wiki/ http:// webindex.sanook.com/ http:// www.geocities.com/ http:// web.ku.ac.th/schoolnet/ http:// vote.sparkit.com
ผู้จัดทำ 1. เด็กชาย ชาญณรงค์ ใจทหาร ชั้น ม.2/5 เลขที่ 2 1. เด็กชาย ชาญณรงค์ ใจทหาร ชั้น ม.2/5 เลขที่ 2 2. เด็กชาย นพพร แหลมทอง ชั้น ม.2/5 เลขที่ 7 3. เด็กหญิง นุชจรีย์ ศรีบุญเรือง ชั้น ม.2/5 เลขที่ 21 4. เด็กหญิง วารุณี เกษร ชั้น ม.2/5 เลขที่ 30 5. เด็กหญิง อัมพวรรณ พันธุบุตร ชั้น ม.2/5 เลขที่ 35