งานเครื่องยนต์ แก๊สโซลีน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
1. หน้าที่การทำงานของน้ำยาหล่อเย็น
Advertisements

PAIBOONKIJ SUPPLY LIMITED PARTNERSHIP
การตรวจรถก่อนใช้งาน (Truck Inspection)
10 บัญญัติ ประหยัดน้ำมัน
(Impulse and Impulsive force)
จัดทำโดย นายวิทยา หาญอาษา และ นายธวัช มุดไธสง อาจารย์ที่ปรึกษา
รูดอล์ฟ ดีเซล.
พลศาสตร์ในของไหล สมการการต่อเนื่อง สมการแบร์นูลลี การไหลที่มีความหนืด
ข้อสอบ O-Net การเคลื่อนที่แนวตรง.
บทที่ 2 การผลิตและการส่งพลังงานไฟฟ้า.
การจำแนกประเภทอุบัติเหตุของไอแอลโอ
1 บทที่ 7 สมบัติของสสาร. 2 ตัวอย่าง ความยาวด้านของลูกบาศก์อลูมิเนียม มีค่าเท่าใด เมื่อน้ำหนักอลูมิเนียมมีค่าเท่ากับ น้ำหนักของทอง กำหนดความหนาแน่น อลูมิเนียม.
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
พ.จ.อ.ภาคภูมิ โชติสุวรรณกุล
ระบบอนุภาค.
คณะกรรมการ “รวมพลังศรีปทุมหารสอง”
แนะนำวิธีการลดการใช้พลังงาน
เทคโนโลยีน้ำมันแก๊สโซฮอลล์ ( GOSOHOL )
Combined Cycle Power Plant
คณะคุรุศาสตร์อุตสาหกรรม วิทยาลัยเทคนิคมหาสารคาม
ชุดวิชา : การประเมินแรงม้าเครื่องจักร
การควบคุมยุงพาหะนำโรคไข้มาลาเรีย
ควบคุมโรคจากแมลงพาหะ
ควบคุมโรคจากแมลงพาหะ
การใช้ก๊าซธรรมชาติในยานยนต์ ( NGV)
โดย สัญลักษณ์งานท่อ แผนกวิชาช่างเขียนแบบเครื่องกล
ผลของจังหวะการฉีดเชื้อเพลิงต่อสมรรถนะและการปลดปล่อยมลพิษของเครื่องยนต์ดีเซล 6 สูบ ที่ใช้เชื้อเพลิงเอทิลเอสเทอร์ผสมดีเซล นพดล พินธุกนก ดร. จิรวรรณ เตียรถ์สุวรรณ.
ประกาศกรมการขนส่งทางบก เรื่อง กำหนดขนาด จำนวน และคุณภาพของเครื่องดับเพลิงสำหรับรถที่ใช้ในการขนส่งสัตว์หรือสิ่งของ ลักษณะ 4 (รถบรรทุกวัสดุอันตราย) พ.ศ.
โครงการฝึกอบรมการช่วยเหลือผู้ประสบภัย ณ จุดเกิดเหตุบนถนน
การคำนวณค่าไฟฟ้า.
เรื่อง เครื่องดูดฝุ่น
การแข่งขันทักษะวิชาชีพครั้งที่ 28
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
ระบบหล่อลื่น และระบายความร้อน
ข้อต่ออ่อนและการตรวจซ่อม
หลักการประหยัดพลังงาน และเครื่องมือวัดการใช้พลังงาน
การตรวจซ่อม ชุดควบคุมคลัตช์ ด้วยน้ำมัน
การตรวจซ่อม เครื่องยนต์ 4 จังหวะ และเกียร์
ระบบระบายความร้อน ระบบระบายความร้อนมี 2 ประเภทด้วยกันคือ
การส่งกำลัง และการตรวจซ่อม กระปุกเกียร์ขับ 4 ล้อ
ระบบน้ำมันเชื้อเพลิง
ระบบการเปลี่ยนแปลงจังหวะการเปิด-ปิด ลิ้นอย่างอัจฉริยะ(VVT-I : VARIABLE VALVE TIMING-INTELLIGENCE) ระบบการเปลี่ยนแปลงจังหวะการเปิด-ปิด.
งานถอดประกอบสายพานไทมิ่งและเพลาลูกเบี้ยวของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน
โครงการปรับแต่ง เครื่องยนต์ ให้สามารถใช้แก๊ส โซฮอล์
ช่างเทคนิคโตโยต้า>>ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการรักษาตามระยะ
ช่างเทคนิคโตโยต้า >> การบำรุงรักษาตามระยะ
ช่างเทคนิคโตโยต้า >> การบำรุงรักษาตามระยะ
ช่างเทคนิคโตโยต้า >> การบำรุงรักษาตามระยะ
ช่างเทคนิคโตโยต้า>> เครื่องมือและเครื่องมือวัด
เครื่องดูดฝุ่น.
อุตสาหกรรมหล่อหลอมโลหะ
เรื่อง อันตรายของเสียง
นวัตกรรม ของ งานจ่ายกลาง และงานซ่อมบำรุง ปี 2552
ความร้อน สมบัติของแก๊สและทฤษฎีจลน์ หน้า 1
N - SERIES.
ความเสี่ยงด้านอุปกรณ์และเครื่องจักรกล แนวทางการป้องกัน
การตรวจซ่อม เบรกหน้าและเบรกหลัง
การตรวจซ่อมกระปุกเกียร์
การควบคุมคลัตช์ ด้วยน้ำมัน
งานเครื่องล่างรถยนต์
มาตรการประหยัดพลังงาน
การตรวจซ่อม ชุดคลัตช์รถยนต์
จุดเด่นของระบบ Versus
รถยนต์วิ่งมาด้วยความเร็วคงที่ 10 เมตร/วินาที ขณะที่อยู่ห่างจากสิ่งกีดขวางเป็นระยะทาง 35 เมตร คนขับก็ตัดสินใจห้ามล้อโดยเสียเวลา 1 วินาที ก่อนห้ามล้อจะทำงาน.
เครื่องจักรและกรรมวิธีการตัดโลหะแผ่นสมัยใหม่
“เทคโนโลยีดีเซลอีซูซุ” เครื่องยนต์รุ่น 4JJ1-TC ซูเปอร์คอมมอนเรล
ฝึกปฏิบัติการ เทคนิค วิธีการใช้สื่อการสอน ในการ สอนฟิสิกส์ผ่านเน็ต ฟิสิกส์ 1.
วงจรอัดอากาศรถจักร ALSTHOM
ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 คณิตศาสตร์ ( ค 31101) กราฟและ การนำไปใช้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

งานเครื่องยนต์ แก๊สโซลีน วิชา งานเครื่องยนต์ แก๊สโซลีน

งานเครื่องยนต์แก๊สโซลีน และชิ้นส่วนเครื่องยนต์ หน่วยที่ 1 วัฏจักรการทำงาน และชิ้นส่วนเครื่องยนต์

วัฏจักรการทำงานและชิ้นส่วนเครื่องยนต์ จุดมุ่งหมายของหน่วยเรียน 1. อธิบายสาระสำคัญประจำหน่วยได้ 2. อธิบายวัฏจักรการทำงานและสมรรถนะเครื่องยนต์ได้ 3. แนะนำคุณลักษณะลูกสูบและผลกระทบจาก ความร้อนได้ 4. อธิบายการทำงานของเพลาสมดุลลดการสั่นสะเทือน เครื่องยนต์ได้ 5. เพื่อให้มีกิจนิสัยในการทำงานด้วยความเป็นระเบียบ เรียบร้อย ประณีต รอบคอบและตระหนักถึง ความปลอดภัย

กลไกการเคลื่อนที่ชิ้นส่วน แรงลูกสูบทางตรง หมุนเพลาข้อเหวี่ยง เพลาข้อเหวี่ยงหมุน ดันลูกสูบขึ้นบน กลไกการเคลื่อนที่ของเครื่องยนต์ (ENGINE MOTION)

ความร้อนจากการทำงานเครื่องยนต์ ความเร็วไอดี 360 ม./วินาที ลิ้นไอดี 400 o ซ. ไฟจุดระเบิด 20,000 โวลต์ แก๊สเผาไหม้ร้อน 2,500 o ซ. ลิ้นไอเสียร้อน 800o ซ. ไอเสียร้อย 1,000o ซ. แรงผลักดันลูกสูบ 50 กก./ซม.2 แรงขับเพลาข้อเหวี่ยง 8,400 นิวตัน

การทำงานเครื่องยนต์ 4 จังหวะ ลิ้นไอดี ลิ้นไอเสีย จังหวะดูด จังหวะอัด จังหวะงาน จังหวะคาย

พิกัดขนาดห้องเผาไหม้ น้ำหนักต่อกำลังและกำลังต่อปริมาตร น้ำหนัก กำลังต่อ ประเภทเครื่องยนต์ ต่อกำลัง ปริมาตร (kg/kW) (kW/ลิตร) เครื่องจักรยานยนต์ 3.5-1.0 20-60 เครื่องเบนซินรถนั่ง 3.0-1.0 30-50 เครื่องเบนซินรถบรรทุก 3.5-1.5 20-30 เครื่องโรตารี่ 1.0-0.5 35-45 เครื่องดีเซลรถนั่ง 3.5-3.0 20-25 เครื่องดีเซลรถบรรทุก 5.0-3.0 20-25 เครื่องกังหันแก๊ส 0.5-0.2 - ห้องอัด ระยะชัก ขนาด ขนาด ระยะชัก

การกำหนดกำลังเครื่องยนต์ ประเภทการกำหนดกำลังเครื่องยนต์ มาตรฐาน DIN มีหน่วยเป็น PS ทดสอบ เหมือนสภาพใช้งานจริง คือใส่หม้อกรอง อากาศ หม้อพักไอเสีย พัดลมปั๊มน้ำ อัลเตอร์เนเตอร์ มาตรฐาน SAE สูงกว่ามาตรฐาน DIN 10-25% ทดสอบโดยไม่ใส่หม้อกรองอากาศ หม้อพักไอเสีย พัดลมปั๊มน้ำและอัลเตอร์- เนเตอร์ มาตรฐาน ISO ทดสอบเหมือนมาตรฐาน DIN คือใช้ตาม DIN แรงบิดหรือทอร์ก คือแรงที่ทำให้วัตถุหมุน การสิ้นเปลืองน้ำมัน หมายถึงการสิ้นเปลือง น้ำมันเชื้อเพลิงที่ตรวจวัดโดยแท่นทดสอบ เครื่องยนต์ ใช้น้ำมันเชื้อเพลิงไปกี่กรัมด้วย ภาระเครื่องยนต์คงที่ 1 kW ใน 1 ชั่วโมง กำลังเครื่องยนต์ แรงบิด สิ้นเปลืองน้ำมัน ความเร็วรอบเหมาะใช้งาน ความเร็วรอบเครื่องยนต์ (รอบ/นาที) กำลังเครื่องยนต์ สิ้นเปลืองน้ำมัน แรงบิด

ลูกสูบแบบเจาะรูที่ท้องร่องแหวนอัด คุณลักษณะลูกสูบ ลูกสูบแบบเจาะรูที่ท้องร่องแหวนอัด ร่องแหวนอัดตัวบน ร่องแหวนน้ำมัน เจาะหลายรู ลูกสูบแบบผ่า (Slit Type Piston) ร่องน้ำมันเครื่อง รูน้ำมันเครื่อง ลูกสูบแบบเจาะรูที่ ท้องร่องแหวน น้ำมัน(Thermal Flow Type Piston) ลูกสูบเสริมแผ่นเหล็ก

อุณหภูมิการทำงานลูกสูบ ลูกสูบเครื่องยนต์ดีเซล ลูกสูบเครื่องยนต์เบนซิน ใช้ห้องเผาไหม้แบบ 2 ชั้น หล่อเย็นด้วยน้ำ ใช้ห้องเผาไหม้แบบพาวน หล่อเย็นด้วยอากาศ ใช้ห้องเผาไหม้แบบเปิด 400oซ. 300oซ. 200oซ. 300oซ. 200oซ. 100oซ. 100oซ. 200oซ. 300oซ. อุณหภูมิการทำงาน

รูปทรงลูกสูบและระยะห่างหล่อลื่น 3. ระยะห่างหล่อลื่นลูกสูบ (Piton Clearance) กระบอกสูบ ลูกสูบ 1. ลูกสูบเย็นเรียว 2. ลูกสูบร้อนไม่เรียว (Cold Piston) (Hot Piston)

รูปทรงลูกสูบเป็นวงรี 2. ขนาด C เล็กกว่า D (สำหรับลูกสูบเป็นทรงเรียว) ขนาด เล็กกว่า D รูปทรงลูกสูบเป็นวงรี (Cam-Ground Piston) 1. ขนาด A เล็กกว่า B (ชายลูกสูบเป็นวงรี)

แรงปะทะกระบอกสูบจากลูกสูบ ความดันจังหวะอัด 2. การทำงานของลูกสูบ แบบเยื้องศูนย์กลาง ความดันจังหวะงาน จังหวะอัด ความดันจาก จังหวะงาน ก่อนถึงศูนย์ ตายบนจังหวะอัด 1. การเกิดแรงปะทะ แรงปะทะทางขึ้น จากความดัน จังหวะอัด ด้านข้าง หลัก แรงปะทะทางลง จากความดัน จังหวะงาน

แรงไม่สมดุลในเครื่องยนต์ แรงทางตรง (Inertial Force) แรงเหวี่ยง (Centrifugal Force) แรงไม่สมดุลในเครื่องยนต์ (Unbalancing Forces in Engine)

แรงไม่สมดุลในเครื่องยนต์ 1. กลไกเพลาสมดุลหมุนสวนทางกัน เพลาสมดุลขวา เพลาสมดุลซ้าย สายพานไทมิ่ง ล้อสายพานเพลาข้อเหวี่ยง 2. เพลาสมดุล เพลาสมดุล ล้อสายพานเพลาข้อเหวี่ยง

วัฏจักรการทำงานและ ชิ้นส่วนเครื่องยนต์ จบหน่วยที่ 1 วัฏจักรการทำงานและ ชิ้นส่วนเครื่องยนต์