Point of care management Blood glucose meter

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานข้อมูล และ เทคโลโลยีสารสนเทศกลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์
Advertisements

Homeward& Rehabilitation system
การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
ยุทธศาสตร์การพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิ
นำเสนอโดย นางสงวนศรี พลดอน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลปัตตานี
ผลการประเมินคุณภาพด้วยวาจา
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
การจัดการกระบวนการภายในเพื่อโครงการทดลองจ่ายค่าตอบแทนตาม ผลการปฏิบัติงาน โรงพยาบาลพาน.
ตำบลนมแม่ โมเดลการพัฒนาเด็กแบบองค์รวม
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
กลุ่มที่ สถาบันที่มี IBC
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
จะต้องผ่านเกณฑ์ด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวที่กำหนดไว้ทั้ง 4 ข้อ
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ในภาพรวมของเขต สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 4 จ. ราชบุรี
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแล ผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 12.
ระบบHomeward& Rehabilation center
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
สรุปการประชุม เขต 10.
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
การพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์ PCA หน่วยบริการปฐมภูมิ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
การตรวจสอบ และการควบคุมภายใน
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
บันได 3 ขั้น ความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพ
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
การบริหารและพัฒนาบุคลากร ในหน่วยบริการปฐมภูมิ เขต ๘
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
:: Pitfall : การบริหารการพยาบาล ::
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
ศูนย์ประสานงานการรับส่งต่อผู้ป่วย
ประสบการณ์รพศ.อุดรธานี ในการเตรียมรับการประเมิน
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
ศูนย์พัฒนาเครือข่ายบริการสุขภาพจิตและจิตเวช
การวางแผนยุทธศาสตร์.
ทำอย่างไรให้ยั่งยืน Referral System : นพ.ธานินทร์ โลเกศกระวี
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555

แนวทางการจัดทำแผน ยุทธศาสตร์ การพัฒนาบุคลากร สถาบัน ธัญญารักษ์ และศูนย์บำบัดรักษายาเสพติด ภูมิภาค 17 – 18 มกราคม 2549 ห้องประชุม 2 / 2 สถาบันธัญญารักษ์
การดำเนินงานดูแลผู้ป่วยต้อหิน จังหวัดร้อยเอ็ด 2011
หลักธรรมาภิบาลใน WP นพ. ฑิฆัมพร จ่างจิต ผอก. รพ. พาน.
คปสอ.เลิงนกทา เป็นองค์กรบริหารด้านสุขภาพที่มีประสิทธิภาพและโปร่งใส
งานผู้ป่วยใน โรงพยาบาลบ้านเขว้า
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
การดูแลผู้ป่วยระยะยาว
Output , Outcome , Impact ของระบบสุขภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Point of care management Blood glucose meter โรงพยาบาลเขื่องใน จ.อุบลราชธานี

บริบท เป็นโรงพยาบาลชุมชนขนาด 60 เตียง เป็นโรงพยาบาลชุมชนขนาด 60 เตียง อยู่ใกล้ถนนสายหลัก ดูแลผู้ป่วยไม่ซับซ้อน PCU 31 แห่ง ประชากร 109,214 คน มีแพทย์ GP 6 คน กุมารแพทย์1 คน พยาบาลวิชาชีพ 95 คน นักเทคนิคการแพทย์ 4 คน จพง.วิทย์ 2 คน

ดูแลผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน 2,685 คน (ร้อยละ 2.5 ของประชากร) จัดโครงการเฉลิมพระเกียรติเหวานใกล้บ้านใกล้ใจ (รับบริการที่ PCU รพ.จัดทีมแพทย์ และสหวิชาชีพให้บริการร่วมกับเครือข่าย)

นโยบายระบบคุณภาพ แผนยุทธศาสตร์ ในการพัฒนาระบบ POCT จัดหาเครื่องตรวจที่มีประสิทธิภาพ คุ้มทุนและพอเพียง อบรมความรู้และฝึกทักษะในการใช้งานและการควบคุมคุณภาพ ที่ถูกต้อง เหมาะสม และปลอดภัย วิธีปฏิบัติในการใช้งานที่เป็นปัจจุบัน หากลยุทธ์ในบริหารงานและเหมาะสมเครือข่าย

นโยบายระบบคุณภาพ จัดตั้งคณะกรรมการประสานงาน เครือข่ายระดับอำเภอ และประสานงานกับทีมนำด้านอื่นๆ พัฒนาระบบสารสนเทศมาใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลด้านคุณภาพ

โครงสร้างการบริหารคุณภาพ POCT ห้องปฏิบัติการกลาง สาธารณสุขอำเภอ PCU 31แห่ง องค์กรพยาบาล OPD/ER/Ward/LR/DMS MCH board ,CLT

กระบวนการปฏิบัติงาน 1.Education/ Training 2. ส่งสารควบคุมคุณภาพ ทุกเดือน 3.สมาชิกส่งผลกลับ Laboratory 4.ประเมินผลในProgram accu-check 5.ส่งผลประเมินกลับสมาชิก 6.ประชุมทบทวนระบบและทบทวนความรู้ ข้อเสนอแนะ / ติดตามเมื่อพบปัญหา

Education and Training

IQC Provider

Competency Evaluation

การจัดการกระบวนการ มีหลักเกณฑ์ในการจัดหาเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพ การทบทวนวิชาการและ workshop การใช้งานเครื่อง POCT การเจาะเก็บสิ่งส่งตรวจ และการรายงานผล การนิเทศงาน PCU เครือข่าย ร่วมกับ สหวิชาชีพ การควบคุมคุณภาพภายใน และการประกันคุณภาพโดยองค์กรภายนอก (IQC,EQA)

Evaluation ร้อยละหน่วยงานที่มีผลอยู่ในเกณฑ์ที่กำหนด การจัดเก็บ Strip ในรถ refer/ ลืมเปลี่ยน code โครงการพัฒนา POCT ในเครือข่าย : ปรับช่องทางในการรายงานผล /workshop และใบประกาศ

เปรียบเทียบ %CV ก่อน-หลังทำโครงการ จัดให้มีผู้ประสานงานระดับ PCU, สสอ,รพ ระบบประสานงานใน MCH board Workshop และการนิเทศ PCU ระบบ feedback

ปัจจัยความสำเร็จ ผู้นำองค์กรให้ความสำคัญในการพัฒนาระบบคุณภาพ ทีมประสานงานเครือข่ายและทีมห้องปฏิบัติการมีความมุ่งมั่น สมาชิกเข้าใจและให้ความสำคัญในระบบประกันคุณภาพ เครื่องมือและระบบสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ

โอกาสพัฒนา เครือข่ายมีจำนวนมาก และระยะทางห่างไกล ผู้รับผิดชอบแต่ละ PCU โยกย้ายบ่อย สมาชิกบางส่วนยังขาดความต่อเนื่องในการทำกิจกรรม

แผนพัฒนาต่อเนื่อง เพิ่มช่องทางในการรายงานผลผ่าน Facebook จัดกิจกรรม QC camping ครอบคลุมระดับ สหวิชาชีพ และ PCU

สวัสดี