โรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

Medication reconciliation
แนวทางการส่งเสริมความปลอดภัยด้านยาระดับจังหวัด
รายงานอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา ประจำปีงบประมาณ 2551
ประเมินข้อมูลการใช้ยา
Risk Management JVKK.
ความคลาดเคลื่อนในการให้ยา
แนวทางการให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2551
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
ยาความเสี่ยงสูง ฝ่ายเภสัชกรรมชุมชน โรงพยาบาลสหัสขันธ์ 5 มกราคม 2554
ในโรงพยาบาลค่ายสุรนารี
Risk management รศ.นพ.จรัล กังสนารักษ์.
ภก. ปรมินทร์ วีระอนันตวัฒน์
Lean ภาควิชาจิตเวชศาสตร์.
สรุปการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
HA 2011 overall scoring และการนำไปใช้เพื่อพัฒนาคุณภาพรพ.
Medication reconciliation
งานบริหารความเสี่ยง Risk management (RM)
การนำร้านยาคุณภาพเข้าร่วมพัฒนาคุณภาพบริการ ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 25 มิถุนายน 2551.
โรงพยาบาลทับสะแก อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
คุณภาพมาตรฐาน บริการด้วยนำใจ สิ่งแวดล้อมสดใส ห่วงใยปวงประชา
โรงพยาบาลทับสะแก อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์ ขนาด 60 เตียง
การพัฒนาคุณภาพบริการ การดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์
ระบบบริการดี ตรวจซีดีโฟร์ ครบตามมาตรฐาน
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง.
งานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
การดำเนินงานแก้ไขปัญหา การเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด ห้องคลอด
การรายงาน ADR/ การป้องกันการแพ้ยาซ้ำ
โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช
คณะกรรมการเภสัชกรรม และการบำบัด
การปรับตัว ของธุรกิจขายยา
โรงพยาบาลสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
การประเมินการใช้ยา ( Drug Use Evaluation,DUE )
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
:: Pitfall : การบริหารการพยาบาล ::
การจัดการระบบยา เพื่อ ความปลอดภัย บันไดขั้น 2 สู่ ขั้น 3.
การปรับเวลาของการบริหารยาให้เข้ากับรอบเวลาให้ยาปกติ
สรุปประเด็นการเยี่ยมสำรวจ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช
รพ. สระใคร อ. สระใคร จ. หนองคาย
เทคนิคการจัดการ ความคลาดเคลื่อนทางยาในเครือข่ายบริการปฐมภูมิเขตเมือง
สรุปผลงาน ปีงบประมาณ 2552 ( ตุลาคม กันยายน 2552 )
การบริหารและพัฒนาบุคลากร HR /HRD
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
โรงพยาบาลอาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด
โครงการลดภาวะแผลฝีเย็บแยก
 เพื่อเป็นการธำรงคุณภาพของงานด้านเภสัชกรรม ตามที่มีการวางระบบไว้และเป็นโอกาสพัฒนางาน ด้านเภสัชกรรมด้านต่างๆสำหรับเภสัชกรที่ หมุนเวียนมารับหน้าที่
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
1. แนวทางการรับคำสั่งการใช้ รถ การประกันระยะเวลาการ รับส่งผู้ป่วย 4. ความรู้ความสามารถของ พขร. ในเรื่องการช่วยฟื้นคืนชีพ การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย กฎจราจร.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
1. การ ดำเนินตามระเบียบงานสาร บรรณที่เกี่ยวข้อง 2. ความสามารถ ดำเนินการด้านสาร บรรณตามเวลาที่กำหนด 3. มีระบบ ป้องกันการสูญหายของ เอกสาร 4. การเผยแพร่ขั้นตอนในการ.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
งานคุณภาพ ของแผนกทารกแรกเกิด
1. การเตรียมผู้ป่วยก่อนทำการ ตรวจทางรังสีวิทยา 2. การเฝ้าระวังในผู้ป่วยที่อาจ เกิดเหตุฉุกเฉินขณะรอตรวจ 3. ความเหมาะสมของการส่ง ตรวจทางรังสีวิทยา 4. การควบคุมคุณภาพของการ.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ระบบข้อมูลสารสนเทศ 4.2 กระบวนงานพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
งานจ่ายกลาง โรงพยาบาลบ้านเขว้า
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
6. การทำงานเป็นทีมระหว่างสาขา วิชาชีพ 1. การคัดกรองจำแนกประเภทผู้ป่วย ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงที่อาจถูกคัดกรอง ผิดพลาด 2. การระบุตัวผู้ป่วยในกรณีต้อง เคลื่อนย้ายผู้ป่วย.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติ ระบบยา โรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติ 2 มีนาคม 2551

เป้าหมาย ถูกต้อง ปลอดภัย เหมาะสม ลดความคลาดเคลื่อน (error) และอาการไม่พึงประสงค์(Adverse event) จากการใช้ยา

PTC สารสนเทศ RM ระบบยา IC สิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย CLT

PTC (Pharmacy and Therapeutic Committee) บทบาทหน้าที่ กำหนดนโยบายด้านยา ทบทวนการใช้ยา เพื่อประกอบการพิจารณายาเข้า-ออก ปรับปรุงให้ทันสมัยอยู่เสมอ ทบทวนวิเคราะห์ปัจจัยที่เป็นสาเหตุ ME และวางระบบการป้องกัน ติดตามและประเมินการเกิด ADR และให้ข้อเสนอแนะมาตรการป้องกัน

ประชุมปีละ 2 ครั้ง ช่วงปรับเปลี่ยนบุคลากร (พฤษภาคม) ช่วงเปลี่ยนปีงบประมาณใหม่ (ตุลาคม)

1.ระบบการกระจายยา:ผู้ป่วยใน นโยบาย/ระบบงาน 1.ระบบการกระจายยา:ผู้ป่วยใน Daily dose จ่ายถึงมื้อเที่ยงของวันถัดไป การจัดยา จัดใส่ซองเหมือนผู้ป่วยนอก ตรวจสอบข้อมูลระหว่างหน่วยงานโดยใช้ Copy Doctor order และ Drug profile กำหนดนโยบาย off ยาในหน้าปัจจุบัน, คืนยาทุกครั้งที่ off ยา/ D/C ,Review medication ทุก 14 วัน

2. ระบบการจ่ายยา: ผู้ป่วยนอก แพทย์สั่งยาโดยระบบคอมพิวเตอร์ จ่ายยาโดยเภสัชกร มีระบบ Double check ระหว่างบุคคล ยกเว้นนอกเวลาราชการ (เวร BD) จะจ่ายโดยเจ้าพนักงานเภสัชกรรม/เภสัชกร ซึ่งขึ้นปฏิบัติงานคนเดียว

3. ระบบความคลาดเคลื่อนทางยา (Medication error) ประเภท Prescribing error Predispensing error Dispensing error Administration error ระดับความรุนแรง A - I

ระดับความรุนแรง (ปีงบประมาณ 2551) ระดับความรุนแรง (ปีงบประมาณ 2551) OPD ระดับ ต.ค.50 พ.ย.50 ธ.ค.50 ม.ค.51 A-C 19.03% 15.96% 15.50% 11.99% D-F G-I IPD ระดับ ต.ค.50 พ.ย.50 ธ.ค.50 ม.ค.51 A-C 17.24% 27.21% 19.17% 30.86% D-F G-I

4. ระบบป้องกันอันตรายจากยาที่ต้องระมัดระวังสูง (High Alert drugs) รายการยา Atropine Adrenaline Aminophylline Dopamine Digoxin KCL MgSO4 Morphine Pethidine

การจัดวางระบบ การจัดซื้อจัดหา/เก็บรักษา การสั่งใช้/ การจัดจ่าย การบริหารยา/การติดตามการใช้ กำหนดคู่มือแนวทางการปฏิบัติ

Morphine injection 10 mg/ml , tab 10 mg   ชื่อ – สกุล________________________________________________อายุ__________ปี HN______________ Dx______________________________________________________________________________________ ให้ได้ทั้ง IM , IV , SC 5-10 mg/dose ทุก 3-4 ชั่วโมง / Oral 30 mg ทุก 3-4 ชั่วโมง กรณีให้ทาง IV ; Dilute ด้วย Sterile water 9 ซีซี slowly push 4-5 นาที ขึ้นไป Monitor 1. BP  รายงานแพทย์เมื่อ BP < 90/60 mmHg 2.        หมดสติ , หลับปลุกไม่ตื่น 3.        กดการหายใจ  รายงานแพทย์เมื่อ RR < 14 ครั้ง/นาที  Dose แรก Monitor 5 นาที เมื่อฉีดยาและ 15 นาที , 30 นาที , 1 ชั่วโมงและทุก 4 ชั่วโมง  ต่อมา (ฉีดต่อเนื่อง) 15 นาที เมื่อฉีดยา และ 1 ชั่วโมง และทุก 4 ชั่วโมง Vital sign ก่อนให้ยา BP = ____________mmHg , HR = ________/min , RR__________/min เริ่มให้ยา ว.ด.ป._____________________ เวลา_____________น. ผู้ฉีด________________________ หลังฉีดยา เวลา BP(mmHg) RR ครั้ง/นาที หมายเหตุ 5 นาที   30 นาที 1 ชั่วโมง 4 ชั่วโมง 8 ชั่วโมง Dose ต่อมา 15 นาที   รายงานแพทย์เมื่อ BP < 90/60 mmHg และหรือ RR < 14 ครั้ง/นาที และหรือมีอาการหมดสติหลับปลุกไม่ตื่น ________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________

5. ระบบ Adverse drug reaction ระบบ: Sponteneous reporting system การประเมิน : Naranjo’s Algorithm อุบัติการณ์การเกิด ADR เป้า 2548 2549 2550 2551 อุบัติการณ์การเกิดการแพ้ยา 16 37 13 อุบัติการณ์แพ้ยาซ้ำ

บันทึกการแพ้ยาในคอมพิวเตอร์ ออกบัตรแพ้ยาให้ผู้ป่วย ผู้ป่วยใน เภสัชกรติดสติ๊กเกอร์ “ผู้ป่วยแพ้ยา” บน chart aluminium และ ที่ Doctor order หน้าปัจจุบัน ชื่อ-สกุลผู้ป่วย ชื่อ-สกุลผู้ป่วย ผู้ป่วยแพ้ยา ระวังการใช้ยา

ระบบ :Intensive monitoring ยากลุ่มเสี่ยงต่อการเกิด STSและ TEN เพื่อลดอาการรุนแรงของอาการ STS และ TEN ได้แก่ กลุ่มยาซัลฟา Cotrimoxazole กลุ่มยากันชัก Carbamazepine,Phenobarb, Phenytoin กลุ่มยาต้านเชื้อไวรัส NVP,GPO-vir กลุ่มยาเก๊าท์ Allopurinol

6. ระบบสำรองยา กำหนดรายการยาที่สำรองแต่ละหน่วยงานชัดเจน มีระบบการตรวจสอบยาหน่วยงานที่สำรอง เดือนละ 1ครั้ง โดยหน่วยงานเภสัชกรรม

ตัวชี้วัด เป้า 2548 2549 2550 2551 มูลค่ายาหมดอายุ <1000 บาท 9,871.64 1,515.80 10,695.49 4,822.32 อัตรายาขาด ณ คลังยา <1 % - 0.22 0.17 0.44 อัตรามูลค่ายาคงคลัง <3 3.93 3.00 1.50 3.20

7. การประเมินการใช้ยา (DUE) Ceftazidime จำนวนผู้ป่วยที่ใช้ Ceftazidime (ก.ย. 50-ม.ค.51) จำนวน 22 ราย สั่งใช้ยาด้วยเหตุผล Empirical therapy 45.45 % ไม่มีการปรับขนาดยาให้เหมาะสมกับการทำงานของไต คิดเป็น 4.55 % ระยะเวลาที่ให้ยา มีความเหมาะสม 14 % มูลค่าการใช้ยาที่ไม่เหมาะสม คิดเป็น 10,548.06 บาท

ยาที่จะทำต่อไป Clindamycin

8. Drug Reconciliation  จัดทำแนวทางในการบริหารจัดการยา Reconcile

ลดความคลาดเคลื่อนทางยา จุดเน้นในปี 2551 Pateint safety ลดความคลาดเคลื่อนทางยา

ขอบคุณค่ะ