การจัดการไฟล์ เสียง ของงานเทคโนโลยีและโสตทัศนศึกษา คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประภากร นนทลักษณ์ กรกฎาคม 2553.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐาจข้อมูล
Advertisements

ภาษา JAVA.
XNA Basic.
Chapter 6 : Video.
Chapter5:Sound (เสียง)
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
คุณค่าของอินเตอร์เน็ต
Bittorrent.
งานบริการมัลติมีเดีย
Microsoft PowerPoint.
กราฟิกและเทคโนโลยีสื่อประสม
การเขียน STORYBOARD STORYBOARD.
การสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book)
โครงการ การสร้างสื่อผลิต MV ( Music Video )
นายชะเวรินทร์ อินสุวรรณ เลขที่ 12 ม.5/4
การผลิตบทเรียนช่วยสอน (CAI)
Overview - Wikipedia Wikipedia คืออะไร? การใช้งาน Wikipedia
Power Director 4 ครั้งที่ 1/2548 วันพุธที่ 7 กันยายน 2548
เทคนิคการใช้โปรแกรม Sound Forge ในการบันทึกและตัดต่อเสียง
ใบส่งพิมพ์โปสเตอร์ขนาดใหญ่
ใบส่งพิมพ์โปสเตอร์ขนาดใหญ่
Web Design and Implementation
นำเสนอการใช้บริการของ
Welcome.
ระบบจัดเก็บค่าน้ำประปา
DSL : Digital Subscriber Line
วีดิทัศน์กับสื่ออิเล็กทรอนิกส์อื่น นักวิชาการโสตทัศนศึกษา
ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
SPEAKER & 3D AUDIO SPEAKER..? 3D AUDIO..? API หัวใจของพลังเสียง DIRECTSOUND 3D A3D (API ที่เป็นอดีต) EAX ความรุ่งโรจน์ของเสียง 3D อ้างอิง.
Menu ที่มาของ Blu-ray Disc ผู้พัฒนามาตรฐาน Blu-Ray คือใคร?
การเริ่มต้นและการวางแผนโครงการ
วัสดุสารสนเทศ หมายถึง วัสดุหรือสื่อ (Media) ที่ใช้บรรจุสารสนเทศ
สารสนเทศ : ความหมาย ความสำคัญ แหล่งสารสนเทศ
ไม่ใช่อินเทอร์เน็ตทีวี
P2P คืออะไร? เป็นเทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบ client-client โดยที่ client แต่ละเครื่องจะมีข้อมูลเก็บอยู่ และสามารถจำลองตนเองเป็น.
วัสดุไม่ตีพิมพ์.
Suphot Sawattiwong Sound On Game Suphot Sawattiwong
การติดตั้ง จัดการแฟ้มเสียง บันทึกเสียง และ effect
CDEX => MP3 โปรแกรมบันทึกเสียงขนาดเล็ก ปรับปรุง 10 มิถุนายน
การตรวจสอบโฆษณาทางคลื่นวิทยุ
ความรู้เกี่ยวกับข้อมูล
HOW TO SEARCH FILE. การค้นหาไฟล์ใน windows 7 - บางครั้งในการเข้าใช้งานคอมพิวเตอร์ของ เรา อาจมีการลืมไฟล์ที่เราต้องการว่าไปเก็บไว้ที่ ใหน หรืออาจจำได้แค่ไดรว์ที่เก็บ.
Principle of Graphic Design
หน่วยที่ 7 จริยธรรมและความปลอดภัย
การสร้างสื่อมัลติมีเดียด้วยโปรแกรม iSpring Presenter Master Edition
รายละเอียดโครงการโดยสังเขป หลักการและเหตุผล
ผู้จัดทำ ด. ช. อดิรุจ อินต๊ะ เลขที่ 14 ด. ช. อดิรุจ ใจปาละ เลขที่ 15 ด. ญ. จินตพร กันทะ เลขที่ 23 ด. ญ. จิราภา สาทร เลขที่ 25 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/6.
ปิยพจน์ และคณะ ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสาร การศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.
การเพิ่มลูกเล่นให้กับเว็บเพจ
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม 1.ด.ช.ณัฐภูมิ คงกระพันธ์ ชั้น ป.4 เลขที่ 3
งานนำเสนอ power point วิชา cp101 เรื่อง ซอฟต์แวร์ที่สนใจ
เสียงเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่นิยมนำมาใช้งานด้าน มัลติมีเดีย ซึ่งสามารถถ่ายทอดอารมณ์ไปยังผู้ชมได้ เช่น การใช้เสียงระทึกใจเพื่อทำให้เกิดความตื่นเต้น หรือเสียงนกร้องเพื่อสร้างบรรยากาศตามธรรมชาติ
โหมดสี ใน Photoshop เรื่องของสีมีความสำคัญอย่างมากในการใช้งานโปรแกรม Photoshop เพราะจะมีผลกับภาพที่เราต้องการปรับแต่งโดยตรง เราสามารถกำหนดโหมดสีใน รูปแบบต่างๆ.
ประเภทของไฟล์เสียงเสียง
เรื่องเสียง จัดทำโดย ด. ช. เกชาบำรุงปรีชา ด. ช. เฉลิมพลวงค์ศรี ด. ช. เมธิชัยใจมาเชื่อ นาย ธนบดีปิงจันทร์ นาย คริษฐ์วงค์ดาว นักเรียนชั้น ม.3 เสนอ คุณครู
นางสาวพัชรี เทพกัน รหัส
ขั้นตอนในการผลิตรายการวีดิทัศน์
คุณสมบัติของไฟล์วิดีโอ
รายละเอียดเกี่ยวกับ Notebook ส่วนประกอบ ต่างๆ CPU ซีพียู ที่สร้างมาสำหรับ Notebook โดยเฉพาะ เน้นเรื่องการประหยัดพลังงาน ลด ความร้อนของซีพียู ทำให้อายุการใช้งานนาน.
การทำรายการอ้างอิง และ ระบบบริหารจัดการและตรวจสอบ วิทยานิพนธ์ จุฑาทิพย์ โอสนานนท์ แก่นักศึกษาระดับปริญญาโท คณะวารสาร ศาสตร์และสื่อสารมวลชน.
เรื่อง เสียง (Sound) หรือ ออดิโอ (Audio)
บทที่ 9 ซอฟต์แวร์ประยุกต์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
กระบวนการในการผลิต.
การสืบค้นข้อมูล. =? Search Engine ? เครื่องมือในการช่วย ค้นหาข้อมูล ทาง Internet Search Engine.
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
ซอฟต์แวร์ที่สนใจ นางสาว อุทัยวรรณ อำพันขาว PE 32 ID
ผลงานวิจัยในชั้นเรียน โดย นางสาวแสงดาว บัวอินทร์
ชื่อโครงการ Project สินค้าแฮนด์เมท.
แทรกไฟล์มัลติมีเดียในสไลด์. การแทรกไฟล์เสียง แทรกเสียงจากไฟล์ 1. คลิกที่แท็บหน้าแรก เลือก สร้างภาพนิ่ง เลือก เค้าโครง ที่ชื่อว่า เฉพาะชื่อเรื่อง 2. คลิกแท็บ.
นาย ปิยะพงษ์ อัครธรรม รหัส สาขาอาชีวศึกษา คณะศึกษาศาสตร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดการไฟล์ เสียง ของงานเทคโนโลยีและโสตทัศนศึกษา คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประภากร นนทลักษณ์ กรกฎาคม 2553

ทำไมต้องจัดการไฟล์เสียง เพราะมีจำนวนมาก ( วิทยุ มธ. มีมากกว่า 10,000 ไฟล์ และเพิ่มขึ้นทุกๆ วัน ) เพราะต้องการมาตรฐานเดียวกันและความเข้ากันได้ ของระบบ ( โปรแกรมที่ใช้ ) ◦ วิทยุ มธ. ใช้ DALET ( ตัวเดียวกับกรม ประชาสัมพันธ์ ) ในการจัดรายการออกอากาศและฝึก นักศึกษา เพื่องานวีดิทัศน์ ภาพยนตร์ AUDITION, AVID เพื่อสืบค้นได้ง่าย เพลง หรือ เสียงประกอบอื่นๆ

การจัดเก็บ เก็บในรูปแบบไหน ? ปัจจุบันมีนามสกุลของไฟล์เสียงหลายประเภทตามการ ใช้งาน ยกตัวอย่างตามความนิยมเช่น ◦.WAV = ใช้บน WINDOWS, เป็นมาตรฐานของ CD AUDIO ◦ AIFF= ใช้บน MAC งานเพลง เสียงประกอบ ต่างๆ ◦.MP3= ไฟล์ที่มีการบีบอัดประเภทหนึ่งใช้มาก บนกับเพลง วีดิทัศน์ ◦.WMA= ไฟล์เสียงของ Microsoft ใช้มากสำหรับ การออกอากาศผ่านทางเวบไซต์

คุณภาพและการบีบอัด มาตรฐาน CD AUDIO sample rate Hz/s bit rate 1411 kbps DV,HDV,DVDsample rate48000Hz/s bit rate 768 kbps (DV) 384 kbps (HDV) MP3sample rate? bit rate?

สถานีวิทยุ มธ. จัดการไฟล์เสียงในรูปแบบ ไฟล์ MP3 sample rate Hz/s bit rate 320 kbps บน server ซึ่งสามารถใช้ งานออกอากาศได้ทันที เนื่องจากไฟล์ต้นฉบับส่วนใหญ่มาจาก CD AUDIO การแปลงเป็น MP3 ในอัตรา bit rate 320 kbps ซึ่งสูงสุดในโปรแกรมแปลงไฟล์ เพื่อประโยชน์ในด้านการประหยัดเนื้อที่ในการ จัดเก็บบน HARDDISK และไม่สูญเสียคุณภาพ ของเสียงมากนัก

การแปลงไฟล์ ต้นฉบับเป็น CD ใช้โปรแกรม FREE RIP

ต้นฉบับเป็น ไฟล์เสียงต่างๆ ใช้โปรแกรม ALL mp3 bit rate converter

ต้นฉบับเป็นสื่อในรูปแบบอื่นๆ เช่น เทป แผ่นเสียง ต้องใช้วิธีเล่น และบันทึกเสียงใหม่ให้เป็นดิจิตอล ก่อน

การนำไปใช้และแก้ปัญหา เนื่องจากโปรแกรมต่างที่ใช้ในงาน PRODUCTION นั้นต้องการไฟล์ที่มีมาตรฐานในการทำงาน แตกต่างกันในแต่ละโปรแกรม DALET ไม่สามารถเล่นไฟล์ที่มี sample rate แตกต่างกันต่อเนื่องได้ รวมถึงไม่สามารถเล่นไฟล์ MP3 บางไฟล์ได้ เช่น ไฟล์ที่ทำการดาวน์โหลด หรือ ไฟล์ MP3 ที่ได้จากการแปลงไฟล์จาก โปรแกรมบางตัว เช่น iTune ทำให้ทางสถานีต้อง ทดลองหาโปรแกรมตัวที่เหมาะสมมาใช้งาน AVID ไม่สามารถวางไฟล์เสียงที่มี sample rate ต่างกันบน Time line เดียวกันเพื่อทำการตัดต่อ ควรแปลงให้เหมาะสมก่อนนำมาใช้

AUDITION จะ SETUP Project ตามไฟล์ เสียงแรกที่ถูกเรียกใช้งาน หากผู้ใช้ไม่รู้ จะทำ ให้งานตัดต่อเสียงทั้งงานนั้นมีคุณภาพต่ำ ต้นฉบับที่เหมาะสมในการนำมาแปลงข้อมูล ควร มาจากแหล่งที่เชื่อถือได้ ( บริษัทที่ผลิต ) โดยเฉพาะเพลงเก่าที่อาจจะให้ข้อมูลที่ไม่ ถูกต้อง เช่น ชื่อนักร้องที่ผิด ทำให้ต้องมีการ ตรวจสอบก่อนนำไปใช้งาน ( ผู้จัดรายการ ) การนำไปใช้และแก้ปัญหา ( ต่อ )