การบริหารงานบุคคล สุรเกียรติ ฐิตะฐาน บทเรียนจากองค์กรวินิจฉัย สุรเกียรติ ฐิตะฐาน ผ.อ. สำนักกฎหมายและระเบียบบริหารงานบุคคล ส่วนท้องถิ่น กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
การตรวจสอบ ดุลพินิจ การกระทำ องค์กรรัฐ เจ้าหน้าที่รัฐ กฎ/คำสั่ง ละเลย/ล่าช้า ละเมิด
ประเภทข้าราชการที่ฟ้องคดี - ตำรวจ ๔๐.๕% - ครู ๒๔.๐% - พลเรือน ๑๙.๖% - ข้าราชการส่วนท้องถิ่น ๘.๙% - อุดมศึกษา ๕.๑% - ข้าราชการอื่น ๑.๙% พ.ศ.๒๕๔๕-๒๕๔๘ ที่มา : มูลนิธีวิจัยและพัฒนากระบวนการยุติธรรมทางปกครอง
๑.การแต่งตั้งกรรมการสอบสวน เหตุผลที่นำไปฟ้อง ๑.การแต่งตั้งกรรมการสอบสวน -แต่งตั้งกรรมการสอบสวนโดยไม่มีอำนาจ -ไม่มีเหตุอันสมควรที่จะแต่งตั้งกรรมการสอบสวน -กรรมการสอบสวนขาดคุณสมบัติ -กรรมการสอบสวนขาดความเป็นกลาง -การออกคำสั่งตั้งกรรมการล่าช้าเกินสมควร -สอบสวนในขณะที่ยังไม่เป็นข้าราชการ
๒.การสอบสวน -สั่งลงโทษโดยไม่มีการสอบสวน -ไม่แจ้งข้อกล่าวหา/ให้โอกาสชี้แจง -การรับฟังพยานหลักฐานไม่ชอบ -ไม่แจ้งข้อกล่าวหาในฐานความผิดที่สั่งลงโทษ
๓.การพิจารณาความผิด -สั่งสำนวนล่าช้า (เสนอสำนวนแล้ว) -ไม่ได้ทำผิดตามที่กล่าวหา -พยานหลักฐานไม่ชัดเจนเพียงพอที่จะลงโทษ
๔.การพิจารณาโทษ -กำหนดโทษไม่เหมาะสมตามความผิด -สั่งลงโทษโดยไม่มีอำนาจ -สั่งลงโทษในฐานความผิดที่มิได้มีการแจ้งข้อกล่าวหา -สั่งลงโทษโดยไม่สุจริต -ออกคำสั่งลงโทษย้อนหลัง -สั่งลงโทษโดยไม่รอผลคดีอาญา -ลงโทษซ้ำซ้อน -เพิ่มโทษไม่ถูกต้อง
เหตุแห่งการฟ้อง ระบบขั้นตอนการปฏิบัติ การกระทำของรัฐ -เจ้าหน้าที่ไม่ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ ขั้นตอน ที่กำหนด -ดุลพินิจของเจ้าหน้าที่ -การใช้ + การแปลความกฎหมาย ข้าราชการผู้ฟ้องคดี -ไม่ยอมรับกฎ -คาดหมายเอง -แปลความกฎหมายผิด ผู้ฟ้อง+ผู้ถูกฟ้องขาดความรู้ความเข้าใจในกฎหมาย/สิทธิหน้าที่ ระบบขั้นตอนการปฏิบัติ
ระบบตรวจสอบไม่เข้มแข็ง บทเรียนที่ได้รับ อำนาจ องค์กรกลุ่ม องค์กรเดี่ยว -อำนาจโดยตรง -มอบอำนาจ กลไก -ลักษณะ : กฎ คำสั่ง หนังสือเวียน -สภาพ : บังคับได้ / บังคับไม่ได้ ดุลพินิจผิด แปลความผิด ระบบตรวจสอบไม่เข้มแข็ง กระบวนทัศน์เก่า