เทคนิคการนำกฎเกณฑ์การให้คะแนน ไปใช้พัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การสร้างห้องเรียนคุณภาพ
Advertisements

การเขียนผลงานวิชาการ
แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ ด้านการเรียนการสอน
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
รายงานการวิจัย.
การตัดเกรด โดย อาจารย์ ดร.จตุภูมิ เขตจัตุรัส
แนวคิดการจัดการเรียนรู้ และมาตรฐาน งานการวัดและประเมินผล ในสถานศึกษา
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
โครงการ “เวทีพบปะ HR ระดับต้น”
หลักการพัฒนา หลักสูตร
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
การพัฒนาการปิด การเจรจาต่อรอง
การวางแผนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
แนะนำวิทยากร.
แหล่งการเรียนรู้และเครือข่ายนวัตกรรม และกระบวนการทางนวัตกรรม
การอ่านและนำเสนอ เรื่องเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
1 3 - Part 7 แบบประเมินก่อนเรียน แบบประเมินหลังเรียน.
แบบประเมินหลังเรียน แบบประเมินก่อนเรียน Part 11.
การจัดกระทำข้อมูล.
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
เรื่อง การวางแผนประเมินโครงการ
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
การนำเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินงานที่เป็นเลิศไปพัฒนาองค์กร
การวัดและประเมินผลผู้เรียน
ความสำคัญและมโนทัศน์พื้นฐานของการวัดและประเมินผลการศึกษา
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ ของการประกันคุณภาพการศึกษา
การวัดผล (Measurement)
วิธีวิทยาการวิจัยขั้นสูงทางการศึกษา
ระบบการสอนของดิคและคาเรย์
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
การออกแบบตัวชี้วัดที่ประสบความสำเร็จในการทำ E-Learning โดย เบคิม เฟทาจิ , เมย์ลินดา เฟทาจิ มหาวิทยาลัยยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมสมัย.
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
หน่วยที่ 1 ความหมายและความสำคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนวทางการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA)
แนวคิดในการทำวิจัย.
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
ความหมายของการวิจารณ์
การใช้ซอฟต์แวร์การเขียนโปรแกรมแบบชุดคำสั่งแบบภาพเพื่อกระตุ้นความสนใจและทัศนคติของนักเรียนต่อวิชาการเขียนโปรแกรม ปิยพจน์ ตัณฑะผลิน ผศ.ดร.ปราวีณยาสุวรรณณัฐโชติ
ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
การสอนกลุ่มใหญ่(Large Group Teaching)
แนวทางการพัฒนาเพื่อธำรงบันไดขั้นที่ 2 สู่ HAการสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) พฤศจิกายน 2557.
บทบาทสมมติ (Role Playing)
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
การเรียนรู้ ผ่าน SERVICE PROFILE
ผู้วิจัย อาจารย์วิโรจน์ เด่นวานิช
ความหมายของการวิจารณ์
จัดทำโดย น.ส. อมรทิพย์ พึ่งเพียร
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
นางสาวประพันธ์ศรี สมจันทร์ฉาย
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
การศึกษาการบริหารงานวิชาการของ วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
การใช้กิจกรรมกลุ่มเกมแข่งขันเพื่อส่งเสริมความรู้ด้านไวยากรณ์และความสามารถด้านการเขียนภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่
นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
1. เพื่อเสริมสร้างเจตคติในการส่งงานของ นักศึกษาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ห้อง คธ ส่งเสริมนักศึกษาให้เป็นผู้ตรงต่อเวลาใน การทำงาน 3. เพื่อศึกษาสาเหตุของการไม่ส่งงาน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เทคนิคการนำกฎเกณฑ์การให้คะแนน ไปใช้พัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน เทคนิคการนำกฎเกณฑ์การให้คะแนน ไปใช้พัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน รศ.ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ภาควิชาการวัดผลและวิจัยการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วันที่ 30-31 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

เทคนิคการใช้กฎเกณฑ์การให้คะแนนในการจัดการเรียนการสอน 1 ใช้กฎเกณฑ์การให้คะแนนเป็นส่วนหนึ่งของการวัดประเมินงานของผู้เรียน และควร แจกให้ผู้เรียนทราบงานที่มอบหมายให้ปฏิบัติพร้อมกับเกณฑ์การให้คะแนน แจกกฎเกณฑ์การให้คะแนนและเกรดแสดงผลการปฏิบัติงานกลับคืนพร้อมกันไปยัง ผู้เรียน เพื่อสื่อสารให้ผู้เรียนทราบและปรับปรุง/พัฒนา ให้ผู้เรียนมีส่วนช่วยในการพัฒนากฎเกณฑ์การให้คะแนนเพื่อใช้วัดประเมินผลการ เรียนรู้ของตน ให้ผู้เรียนใช้กฏเกณ์การให้คะแนนวัดประเมินการเรียนรู้ของตนเองและของเพื่อน ร่วมชั้น ควรมีการพูดคุยหรืออภิปรายเกี่ยวกับการวัดประเมินโดยใช้กฎเกณฑ์การให้คะแนน โดยเฉพาะการกำหนดเกณฑ์และคำบรรยายตามมาตรวัดประเมินแต่ละระดับว่าเป็น ปรนัย เที่ยงตรง คงเส้นคงวาและยุติธรรมได้ดีเพียงใด ใช้กฎเกณฑ์การให้คะแนนแบบวิเคราะห์สำหรับให้ผู้เรียนปรับปรุงการเรียนรู้ของตน ในมิติคุณภาพที่ยังอ่อนด้อยอย่างต่อเนื่อง

เทคนิคการใช้กฎเกณฑ์การให้คะแนนในการจัดการเรียนการสอน 2 ต้องใช้กฎเกณฑ์การตรวจให้คะแนนอย่างระมัดระวัง เพื่อไม่ให้เกิดความคลาดเคลื่อนจาก Halo effect (ความลำเอียงที่มีอิทธิพลมาจากอาจารย์มีความประทับใจในบุคลิกลักษณะอื่นๆ ที่ไม่ เกี่ยวข้องกับสมรรถนะของผู้เรียนที่ต้องการวัดประเมิน) Item or task carry-over effects (ความคลาดเคลื่อนจากคุณภาพของการวัดประเมินด้วยข้อคำถาม หรืองานครั้งแรกส่งผลตกทอดต่อการวัดประเมินด้วยข้อคำถามหรืองานครั้งถัดไปของผู้เรียนคน เดียวกัน) Test or performance carry-over effects (ความคลาดเคลื่อนจากผลของการวัดประเมินผู้เรียนก่อน หน้าส่งผลตกทอดต่อผลการวัดประเมินผู้เรียนถัดไป) Order effects (ความคลาดเคลื่อนจากการตรวจให้คะแนนของผู้เรียนลำดับท้ายด้วยแบบแผนไม่คง เส้นคงวาหรือ “ลื่นไถล” ไปจากผู้เรียนในลำดับต้น ด้วยเหตุแห่งความหนื่อยล้าหรือเบื่อหน่ายกับการ ทำซ้ำ) Writing and Language Mechanics Effects (ความลำเอียงจากทักษะในการเขียนหรือวาทศิลป์ทาง ภาษาของผู้เรียนที่มีอิทธิพลต่อคะแนนการวัดประเมิน แม้ว่าจะไม่ได้วัดประเมินความสามารถในการ เขียนก็ตาม) Chatterji (2003, pp. 244-245)

หลักการสำคัญให้สารสนเทศป้อนกลับ (Feedback) เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ 1 ใช้กฎเกณฑ์/แนวทางการให้คะแนน (Scoring rubrics or guidelines) เป็นแนวทางการให้ สารสนเทศป้อนกลับเพื่อความชัดเจน เน้นการให้สารสนเทศป้อนกลับเชิงเปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐาน (มากกว่าการให้ สารสนเทศป้อนกลับเชิงเปรียบเทียบระหว่างผู้เรียนด้วยกัน) ส่งเสริมบรรยากาศในหมู่ผู้เรียนให้มีการวิพากษ์เชิงสร้างสรรค์ มีการคิดใคร่ครวญทวนสอบ ความคิดและการเรียนรู้ของตนเอง และการยอมรับจุดจำกัดที่ต้องพัฒนาปรับปรุง ใช้ผลงานหรือทักษะจากการปฏิบัติงานของผู้เรียนเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานแต่ละระดับเพื่อ บ่งชี้ข้อดีและข้อจำกัดในการเรียนรู้ของผู้เรียน ควรเกิดขึ้นอย่างสม่ำเสมอตลอดกระบวนการเรียนรู้ (มิใช่เฉพาะตอนจบการสอนแต่ละหัวข้อ) ครู/อาจารย์และผู้เรียนต้องเข้าใจร่วมกันว่าการให้สารสนเทศป้อนกลับช่วยเอื้ออำนวยให้เกิด การเรียนรู้ ต้องเชื่อถือและไว้วางใจระหว่างกัน

หลักการสำคัญให้สารสนเทศป้อนกลับเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ 2 ควรรวบรวมและวิเคราะห์ข้อผิดพลาดสำคัญ (Key errors) ที่เกิดจากการเรียนรู้ ของผู้เรียนว่ามีอะไรบ้าง เกิดจากสาเหตุอะไร และจะให้สารสนเทศป้อนกลับอะไร เพื่อช่วยให้ผู้เรียนหลีกเลี่ยงข้อผิดพลาดเหล่านั้น (อาจกระทำผ่านกระบวนการวิจัย ในชั้นเรียน) ใช้กลยุทธ์การเสริมแรงทางบวกด้วยการสื่อสารให้ผู้เรียนรู้สึกภาคภูมิใจในตนเอง (Self-esteem) และรับรู้ความสามารถของตนเอง (Self-efficacy) ในขณะให้ สารสนเทศป้อนกลับเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ สื่อสารด้วยถ้อยคำทางภาษาที่เข้าใจง่ายๆ ตรงประเด็นที่ต้องพัฒนาปรับปรุง และมี ระดับความยากง่ายเหมาะสม (ไม่ง่ายเกินไปจนขาดความท้าทาย หรือยาก เกินไปจนเกิดความท้อแท้ !!!)

เอกสารอ้างอิง Chatterji, M. (2003). Designing and using tools for educational assessment. Boston, MA: Pearson Education. Cohen, L.G., & Spenciner, L.J. (2003). Assessment of children and youth with special needs (2nd ed.). Boston, MA: Pearson Education. Links to examples of rubrics: http://www.intel.com/content/dam/www/program/education/us/ en/documents/assessing-projects/strategies/demonstrating-understanding-rubrics-scoring-guides.pdf

สวัสดี รศ.ดร. องอาจ นัยพัฒน์ Ong-Art Naiyapatana Ong-art@swu.ac.th โทร 089-169-9141