ความสามารถในการทรงตัวของผู้สูงอายุที่ออกกำลังกายและไม่ออกกำลังกาย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หมู่บ้านจัดการสุขภาพ ตำบลหนองยาว อ.เมือง จ.สระบุรี
Advertisements

การออกกำลังกาย ผู้สูงอายุ 25/03/55.
ยุทธศาสตร์ การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
ช่วงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
สรุปผลการประชุม สถานะสุขภาพ
“การจัดการความรู้ : Share and Learn ประจำปี 2555”
ชื่อโครงการ : (ภาษาไทย) การเปรียบเทียบสมรรถนะ คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นกับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (ภาษาอังกฤษ) Comparative Benchmarking.
กลุ่มวิจัยธาลัสซีเมีย
การสั่งการออกกำลังกาย (EXERCISE PRESCRIPTION)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (EXERCISE FOR THE ELDERLY)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
เทคนิคการประเมินผลการเรียนการสอน (การให้ระดับคะแนน:เกรด)
หน่วยโรคข้อและโรคภูมิแพ้ ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
ศรีเกียรติ อนันต์สวัสดิ์
Pattern of injury in child fatalities resulting from child abuse
ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยในสูงอายุ ของรพ.พุทธชินราช
การเจริญเติบโตของวัยรุ่น
ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
ผลการจำกัดอาหารในลูกสุกรหย่านมก่อนกำหนด
เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ.
RANDOMIZED CONTROLLED COMPARATIVE STUDY
เครื่องมือพัฒนาคุณภาพ
ความสำเร็จของนโยบายการวางแผนประชากรที่ทำให้อัตราเจริญพันธุ์ลดลง
แนวทางการปฏิบัติ การจัดการน้ำหนักและรอบเอว
ชุดเครื่องมือเดินเพื่อสุขภาพ
บทเรียน Best Practice ของระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
นพ.สมชาย ลี่ทองอิน กองออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
ประเด็นการประชุมกลุ่ม
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แนวทางการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
นางสาวอนุสรณ์ สนิทชน , CDT นักโภชนาการ โรงพยาบาลอุดรธานี
การวัดเจตคติที่มีต่อวิชาภาษาอังกฤษ
คลินิกผู้สูงอายุ อดีต ปัจจุบัน อนาคต
อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา
สรุปบทเรียนโครงการแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
บทเรียนเพื่อการศึกษาวิชาสุขศึกษา
สุรพล เศรษฐบุตร Agri.Extension Dept. 1 กระบวนวิชา การประเมินผลโครงการ ส่งเสริมการเกษตร ( Assessment and Evaluation of Extension Program in Agriculture.
Topic Basic science of calcium Basic science of vitamin D
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย
ผลการดำเนินงาน แม่บ้านสาธารณสุข
การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร
นพ.ธีรวีร์ วีรวรรณ แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู ศูนย์ฯ 56 ทับเจริญ สำนักอนามัย
งานวิจัยการเรียนการสอน
เอกสารประกอบการประชุม “โครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลและป้องกันโรคไตเรื้อรังในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง” รุ่งรักษ์ ภิรมย์ลาภ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ.
ใช้แบบสอบถาม ให้ผู้ป่วยเลือก กิจกรรมในแต่ละ สัปดาห์ เจ้าหน้าที่เตรียม วัตถุดิบ ประเมินความสุข ของผู้ป่วย ผู้ป่วย ญาติ เจ้าหน้าที่
การเตรียมผู้ป่วยสูงอายุก่อนและการดูแลระหว่างการรักษาด้วยไฟฟ้า
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาโปรแกรมประยุกต์ทางคอมพิวเตอร์ โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
ผลการพัฒนาวิธีการสอนโดยใช้แผนผัง ความคิด วิชา ครอบครัวศึกษาและความปลอดภัย ในชีวิต ( ) เรื่อง ความปลอดภัยในการใช้ยา ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตร.
เรื่องเลขยกกำลัง วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานอาชีพ
นายสุชาติ ประวัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)
นโยบายองค์การบริหารส่วนตำบลศิลา อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น เรื่อง การสร้างสุขภาพประชาชน ในเขต อบต. ศิลา “ คนศิลากินดี อยู่ดี สุขภาพแข็งแรง ไม่มี ภาวะอ้วนลงพุง.
ผู้วิจัย อาจารย์ณฐกมล พินิจศักดิ์
กระบวนการดำเนินการประชาสัมพันธ์
ผู้วิจัย อาจารย์เกษร วุฒิสินธ์
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาล รามาธิบดี ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2556.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
“การศึกษาประสิทธิภาพบทเรียนบนเว็บในการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยทฤษฎีทางเทคโนโลยีการศึกษาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (E-learning) วิชาหลักการตลาด ของนักศึกษาคู่ขนาน.
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใน วิชาหลักการจัดการ โดยใช้วิธีการ สอนแล้วสอบ ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ( ปวส. 2/1 – 2/5 ) ปี การศึกษา.
ชื่อผลงานวิจัย ความพึงพอใจต่อการใช้อาคารและสถานที่ของนักเรียน-นักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ชื่อผู้วิจัย นางอรอนงค์ ชูศรี
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล คณะ กายภาพบำบัด ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2556.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความสามารถในการทรงตัวของผู้สูงอายุที่ออกกำลังกายและไม่ออกกำลังกาย PT 04 ความสามารถในการทรงตัวของผู้สูงอายุที่ออกกำลังกายและไม่ออกกำลังกาย (Balance performance in exercise and non-exercise elderly) เยาวราภรณ์ ยืนยงค์1, สุกัลยา อมตฉายา2, วัณทนา ศิริธราธิวัตร2 1 งานกายภาพบำบัด โรงพยาบาลอำนาจเจริญ อ.เมือง จ.อำนาจเจริญ 2 สายวิชากายภาพบำบัด คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น อ.เมือง จ.ขอนแก่น บทคัดย่อ ผู้สูงอายุมักมีการเปลี่ยนแปลงของระบบต่างๆ ที่มีผลต่อความสามารถในการทรงตัว มีรายงานว่าการออกกำลังกายมีผลดีในการช่วยชะลอความเสื่อมของระบบต่างๆ การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการควบคุมการทรงตัวในผู้สูงอายุสุขภาพดี อายุระหว่าง 60-80 ปีที่ออกกำลังกายและไม่ออกกำลังกายเป็นประจำกลุ่มละ 60 คน โดยใช้ Berg Balance Scale (BBS) และ Timed Up and Go Test (TUGT) ผลการศึกษาพบว่าผู้สูงอายุกลุ่มออกกำลังกายมีอายุเฉลี่ย 65  3.90 ปี และกลุ่มไม่ออกกำลังกายมีอายุเฉลี่ย 65.95  3.79 ปี โดยอาสาสมัครในกลุ่มออกกำลังกายเป็นประจำมีความสามารถในการควบคุมการทรงตัวดีกว่ากลุ่มที่ไม่ออกกำลังกายเป็นประจำอย่างมีนัยสำคัญ (p<0.001) โดยความสามารถในการทรงตัวที่ประเมินโดย BBS ของกลุ่มออกกำลังกายมีค่า 55.20  0.83 คะแนน และกลุ่มไม่ออกกำลังกายมีค่า 52.90  2.27 คะแนน เวลาของการทดสอบ TUGT ของกลุ่มออกกำลังกายมีค่า 8.22  1.35 วินาที และกลุ่มไม่ออกกำลังกายมีค่า 12.65  2.76 วินาที ผลการวิจัยชี้ให้เห็นว่าอาสาสมัครทั้ง 2 กลุ่มมีความสามารถในการทรงตัวอยู่ในเกณฑ์ดีซึ่งอาจเป็นเพราะอาสาสมัครส่วนใหญ่มีอายุไม่มากนัก โดยความแตกต่างของความสามารถในการทรงตัวของทั้ง 2 กลุ่มอาจชี้ให้เห็นความสำคัญของการออกกำลังกายในผู้สูงอายุ บทนำ ผลการศึกษา ผู้สูงอายุมักมีการเปลี่ยนแปลงของระบบต่างๆ ที่มีผลต่อความสามารถในการทรงตัว ทำให้มีความเสี่ยงต่อการล้ม ซึ่งทำให้เกิดผลตามมาตั้งแต่การบาดเจ็บเพียงเล็กน้อยจนถึงกระดูกหักและเสียชีวิต มีรายงานว่าการออกกำลังกายมีผลดีในการช่วยชะลอความเสื่อมของระบบต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการทรงตัว การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อ “เปรียบเทียบความสามารถในการควบคุมการทรงตัว ในผู้สูงอายุที่ออกกำลังกายและไม่ออกกำลังกาย” ออกกำลังกาย (mean  SD) ไม่ออกกำลังกาย P-value* อายุ (ปี) 65  3.90 65.95  3.79 .586 BBS (คะแนน) 55.20  0.83 52.90  2.27 <.001 TUGT (วินาที) 8.22  1.35 12.65  2.76 *P-value จาก independent t- test วิธีการศึกษาวิจัย วิจารณ์และสรุปผลการวิจัย อาสาสมัคร: ผู้สูงอายุสุขภาพดี 120 คน ผู้สูงอายุทั้งสองกลุ่มมีความสามารถในการทรงตัวอยู่ในเกณฑ์ดี (BBS > 45, TUGT < 16) มีรายงานว่า BBS มีความสัมพันธ์กับความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขา ความทนทาน และการทรงตัว TUGT มีความสัมพันธ์กับปฏิกิริยาการตอบสนอง (reaction time) กำลังขา ความสามารถในการทรงตัว และการเดิน ความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญของความสามารถในการทรงตัว ระหว่างกลุ่ม (p < .001) อาจแสดงให้เห็นความสำคัญของการออกกำลังกายในผู้สูงอายุในด้านต่างๆ ได้แก่ ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขา ความทนทาน ความสามารถในการทรงตัวและการเดิน ปฏิกิริยาการตอบสนอง กลุ่มออกกำลังกาย: 60 คน ออกกำลังกาย 3 – 5 ครั้ง/สัปดาห์ วันละ > 30 นาที ติดต่อกัน > 1 ปี - มีระดับความเหนื่อย (Borg score) > 11 กลุ่มไม่ออกกำลังกาย: 60 คน - ออกกำลังกาย 0 – 1 ครั้ง/สัปดาห์ - แต่ละวันทำกิจกรรมน้อยกว่า 30 นาที - มีระดับความเหนื่อย (Borg score) < 11 ประเมินการทรงตัว Berg Balance Scale (BBS) Timed Up and Go Test (TUGT) ตัวอย่างการประเมิน BBS 3 เมตร การประเมิน TUGT ประโยชน์ทางคลินิก ผลการศึกษาแสดงให้เห็นประโยชน์ของการออกกำลังกายต่อความสามารถในการทรงตัวของผู้สูงอายุ ดังนั้น การสนับสนุนให้ผู้สูงอายุมีการออกกำลังกายอย่างน้อย 3 ครั้ง/สัปดาห์ วันละ 30 นาที ในระดับที่รู้สึกเริ่มเหนื่อยเป็นประจำเป็นสิ่งสำคัญต่อความสามารถในการทรงตัวของผู้สูงอายุ ซึ่งอาจช่วยลดอุบัติการณ์การล้มในผู้สูงอายุได้ เอกสารอ้างอิง Langly F, Mackintosh S. Functional balance assessment of older community dwelling adults: a systematic review of the literature. JAHSP. 2007;5(4):1-11. Hawk C, Hyland J, Rupert R, Colonvega M, Hall S. Assessment of balance and risk for falls in a sample of community-dwelling adults aged 65 and older. Chiropractic & Osteopathy. 2006;14(3). Ballard J, McFarland C, Wallace L, Holiday D, Roberson G. The effects of 15 weeks of exercise on balance, leg strength, and reduction in falls in 40 women aged 65 to 89 years. JAMWA. 2004;59:255-61. คณะผู้วิจัยขอขอบคุณ สสส. ที่กรุณาให้ทุนสนับสนุนการศึกษานี้