สรุปผลการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อคุ้มครอง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
แนวทางการบูรณาการ อพม.กับโครงการพัฒนาตำบลต้นแบบ
ก ารประชุมเพื่อพิจารณา แนวทางในการพัฒนา ร้านเกมคาเฟ่ ร้านอินเทอร์เน็ต คาเฟ่ ป ลอดภัยและ ส ร้างสรรค์ วันที่ ๖ ธันวาคม พ. ศ. ๒๕๕๐ ณ ห้องประชุม ๓๐๒ ตึกบัญชาการ.
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ รพ.แหลมสิงห์ จังหวัดจันทบุรี
การค้ามนุษย์ นายอนุภาพ ปวงสายใจ คพ50.ค
การค้ามนุษย์.
การค้ามนุษย์.
การค้ามนุษย์.
การค้ามนุษย์.
การค้ามนุษย์.
ระบบการส่งต่อและเชื่อมโยง ให้ความช่วยเหลือเด็กที่มีปัญหา
สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้รับผิดชอบ การจัดการรายบุคคลในโรงพยาบาล (Case Manager และ Case Management Unit)
Case Management.
ชุมนุม YC.
การประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างและใช้ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
องค์ประกอบ/กระบวนงานด้านการคุ้มครองเด็ก ในระดับจังหวัดสมุทรสาคร
สำนักส่งเสริมและ พิทักษ์เด็ก
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
การค้ามนุษย์.
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
การบริหาร ยุทธศาสตร์บูรณา การการป้องกันและ แก้ไขปัญหาเอดส์ ระดับจังหวัด กลุ่มผู้ติดเชื้อ เอชไอวี
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ข้อกำหนดคณะกรรมการส่งเสริม การจัดสวัสดิการสังคมแห่งชาติว่า ด้วยการกำหนดบุคคลหรือกลุ่ม บุคคลเป้าหมายเป็นผู้รับบริการ.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
สาระสำคัญจากการประชุมคณะกรรมการแก้ไขปัญหายาเสพติด ในสถานกักขัง ควบคุม และสถานบำบัดของกระทรวงยุติธรรม ครั้งที่ 1/2552 แนวทางการแก้ไขปัญหายาเสพติดแบ่งออกเป็น.
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.
ย.๔ พัฒนาระบบบริการสุขภาพวัยรุ่นในสถานบริการ
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
บทบาทท้องถิ่นกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
กลุ่มที่ 3 หัวหน้าฝ่าย / เจ้าหน้าที่
การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
โครงการในปีงบประมาณ 2558.
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
แผนการดำเนินงาน ของศูนย์กฎหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นายวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ด้านการดำเนินงานการตั้งครรภ์หญิง วัยรุ่น o ๑. มาตรการด้านบริหารจัดการ การประชุมพิจารณา กรอบแนวทางการประเมินผลตามตัวชี้วัด และ มาตรฐานการดำเนินงานอำเภออนามัยการเจริญ.
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
ปัญหาวัยรุ่นตั้งครรภ์ไม่พร้อม
หน่วยงานภาครัฐ, อปท. และเอกชนมีสนับสนุน งบประมาณ, ประสานงาน กัน อย่างต่อเนื่องและ เข้มแข็ง ( นาจอมเทียน, บางเสร่, พูลตาหลวง, แสมสาร, สัตหีบ ) มีระบบข้อมูลที่มี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปผลการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อคุ้มครอง พิทักษ์สิทธิ และป้องกันแก้ไขปัญหา ความรุนแรงต่อเด็ก สตรี และความรุนแรงในครอบครัว ในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน

การบรรยาย  พ.ร.บ.คุ้มครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖  ความรุนแรงอันมีรากฐานมาจากบทบาทหญิงชาย  พ.ร.บ.คุ้มครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖ พ.ร.บ.คุ้มครองผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๐ พ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. ๒๕๕๑

กรณีศึกษา และความรุนแรงในพื้นที่ โดยใช้มุมมองบทบาทหญิงชาย  แนวทางแก้ไขปัญหาความรุนแรงต่อเด็ก สตรี และความรุนแรงในพื้นที่ โดยใช้มุมมองบทบาทหญิงชาย และ พ.ร.บ.ทั้ง ๓ ฉบับ เด็ก สภาพ ปัญหา ความ รุนแรง ค้ามนุษย์

กรณีศึกษา ความรุนแรง ฐานความผิด (นอกจาก ๓ พ.ร.บ.)  มีเด็กเป็นผู้ถูกกระทำ  ยาเสพติด  การใช้แรงงาน  การล่วงละเมิดทางเพศ  ค้าประเวณี ความรุนแรง ฐานความผิด (นอกจาก ๓ พ.ร.บ.)  พ.ร.บ.กฎหมายยาเสพติดให้โทษ  พ.ร.บ.ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์  พ.ร.บ.คุ้มครองแรงงาน  พ.ร.บ.สถานบริการ พ.ร.บ.สุขภาพจิต  พ.ร.บ.ภาพยนตร์และวีดิทัศน์  พระราชบัญญัติการทำงานของคนต่างด้าว  พระราชบัญญัติความปลอดภัยอาชีวอนามัย  ประมวลกฎหมายอาญา เกี่ยวกับเรื่องการกักขังหน่วงเหนี่ยว ฯลฯ

กระบวนงานในการแก้ไขปัญหา  รับแจ้งเหตุ  เข้าไปในเคหะสถานเพื่อแยกตัวผู้ถูกกระทำออกมา  ประชุมทีมสหวิชาชีพ เพื่อหาแนวทางช่วยเหลือ  สอบข้อเท็จจริงบุคคลที่เกี่ยวข้อง เยี่ยมครอบครัว ชุมชนเพื่อหาข้อมูลเชิงลึก  จัดทีมประเมินสภาพครอบครัวของเด็ก  กำหนดมาตรการบรรเทาทุกข์ชั่วคราว  ส่งผู้กระทำเข้ากระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม  สอบสวน  การแจ้งความดำเนินคดี ในเรื่องเด็กถูกล่วงละเมิดทางเพศ  การดำเนินคดีกรณีสถานประกอบการจ้างเด็กอายุต่ำกว่า ๑๘ ปี ทำงาน  ไกล่เกลี่ย ยอมความ ทำข้อตกลง

กระบวนงานในการแก้ไขปัญหา  แยกเด็กออกจากครอบครัว แยกเด็กออกมาจากร้านคาราโอเกะ  แจ้งสิทธิ  รับเข้าพักชั่วคราวและบำบัดเยียวยาร่างกาย จิตใจ  ส่งผู้ถูกกระทำพบทีมแพทย์เพื่อตรวจสภาพร่างกาย/จิตใจ ตรวจสอบสภาพร่างกาย เพื่อดูว่าติดเชื้อเอชไอวีหรือไม่  ให้เด็กได้รับความคุ้มครองและอยู่ในสถานที่เหมาะสม : ศูนย์เด็กเล็ก/สถานรับเลี้ยงเด็ก/Day Care Center  นำแม่และเด็กเข้ารับการฟื้นฟูร่างกายจิตใจ  จัดให้มีนักสังคมสงเคราะห์ นักจิตวิทยา ในการเยียวยาฟื้นฟูเด็ก (กายและจิตใจ)  ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของแม่และหาอาชีพเสริม  ให้เงินสงเคราะห์ มีกองทุนคุ้มครองเด็ก  ฝึกอาชีพ พัฒนาอาชีพ หรือการศึกษาต่อ  ส่งกลับบ้าน โดยการประเมินตามความต้องการของเด็ก

ก้าวต่อไปของการป้องกันและแก้ไขปัญหา ที่เกี่ยวข้องกับ ๓ พ.ร.บ. ส่งเสริมการทำงานของทีมสหวิชาชีพ  แต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนแบบบูรณาการ พ.ร.บ. ๓ ฉบับ ระดับจังหวัด ระดับอำเภอ ระดับชุมชน  ประชุมทีมจังหวัดเพื่อหารือร่วมกัน (ระหว่าง อปท. หน่วยงานภาครัฐ และเอกชน) และสร้างความรู้ความเข้าใจ ประชุมอย่างต่อเนื่อง และถอดบทเรียน  จัดทำ MOU ระหว่างหน่วยงานสหวิชาชีพ จัดทำประกาศ/คำสั่ง/วาระของจังหวัด  จัดทำเส้นทางความช่วยเหลือ  ติดตามเยี่ยมชุมชน

ก้าวต่อไปของการป้องกันและแก้ไขปัญหา ที่เกี่ยวข้องกับ ๓ พ.ร.บ. เสริมสร้างศักยภาพหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง  จัดทำกระบวนงานและคู่มือ เพื่อเผยแพร่ไปสู่กลุ่มเป้าหมาย ผ่านการประชุม อบรม และอบรมเชิงปฏิบัติการ  แสวงหาเครือข่าย อาสาสมัคร และส่งเสริมความรู้ความเข้าใจ  สร้างความเข้มแข็งให้ระดับอำเภอ (อำเภอนำร่อง) โดยวิธีการ Focus Group / Case Study ถอดบทเรียน และนำเสนอโดยใช้กลุ่ม Best Practices อำเภอต้นแบบ  เผยแพร่ความรู้/สร้างความเข้าใจเรื่อง พ.ร.บ. คุ้มครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖ ให้แก่ครูแนะแนว ครูที่ปรึกษา ในโรงเรียนนำร่องระดับมัยธมต้นและอำเภอนำร่อง และขยายไปสู่ทุกอำเภอ

ก้าวต่อไปของการป้องกันและแก้ไขปัญหา ที่เกี่ยวข้องกับ ๓ พ.ร.บ. จัดระบบช่วยเหลือ ฟื้นฟู  ให้ศูนย์ OSCC ของโรงพยาบาลอำเภอเป็นจุดรับแจ้งและช่วยเหลือ  ให้ศูนย์ไกล่เกลี่ยระดับอำเภอเป็นจุดประสานงาน  สำนักงาน พมจ. และอำเภอ ประสานกับโรงเรียนและเขตการศึกษา ให้นำระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนมาใช้ในโรงเรียน  เพิ่มบทบาทศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน (ศพค.) เป็นหน่วยเฝ้าระวังในชุมชน  จัดกิจกรรมส่งเสริมการศึกษา อาชีพ, ศีลธรรมชุมชน, ยกย่องครอบครัวตัวอย่าง

ก้าวต่อไปของการป้องกันและแก้ไขปัญหา ที่เกี่ยวข้องกับ ๓ พ.ร.บ. จัดระบบสนับสนุน  นำเข้าไปบูรณาการในแผนชุมชน  จัดระบบการรายงาน ติดตาม ประเมินผล  ประชาสัมพันธ์ให้เกิดกระแสสังคม รณรงค์การปฏิบัติ และการบังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้อง