สรุปผลการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อคุ้มครอง พิทักษ์สิทธิ และป้องกันแก้ไขปัญหา ความรุนแรงต่อเด็ก สตรี และความรุนแรงในครอบครัว ในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน
การบรรยาย พ.ร.บ.คุ้มครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖ ความรุนแรงอันมีรากฐานมาจากบทบาทหญิงชาย พ.ร.บ.คุ้มครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖ พ.ร.บ.คุ้มครองผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๐ พ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. ๒๕๕๑
กรณีศึกษา และความรุนแรงในพื้นที่ โดยใช้มุมมองบทบาทหญิงชาย แนวทางแก้ไขปัญหาความรุนแรงต่อเด็ก สตรี และความรุนแรงในพื้นที่ โดยใช้มุมมองบทบาทหญิงชาย และ พ.ร.บ.ทั้ง ๓ ฉบับ เด็ก สภาพ ปัญหา ความ รุนแรง ค้ามนุษย์
กรณีศึกษา ความรุนแรง ฐานความผิด (นอกจาก ๓ พ.ร.บ.) มีเด็กเป็นผู้ถูกกระทำ ยาเสพติด การใช้แรงงาน การล่วงละเมิดทางเพศ ค้าประเวณี ความรุนแรง ฐานความผิด (นอกจาก ๓ พ.ร.บ.) พ.ร.บ.กฎหมายยาเสพติดให้โทษ พ.ร.บ.ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ร.บ.คุ้มครองแรงงาน พ.ร.บ.สถานบริการ พ.ร.บ.สุขภาพจิต พ.ร.บ.ภาพยนตร์และวีดิทัศน์ พระราชบัญญัติการทำงานของคนต่างด้าว พระราชบัญญัติความปลอดภัยอาชีวอนามัย ประมวลกฎหมายอาญา เกี่ยวกับเรื่องการกักขังหน่วงเหนี่ยว ฯลฯ
กระบวนงานในการแก้ไขปัญหา รับแจ้งเหตุ เข้าไปในเคหะสถานเพื่อแยกตัวผู้ถูกกระทำออกมา ประชุมทีมสหวิชาชีพ เพื่อหาแนวทางช่วยเหลือ สอบข้อเท็จจริงบุคคลที่เกี่ยวข้อง เยี่ยมครอบครัว ชุมชนเพื่อหาข้อมูลเชิงลึก จัดทีมประเมินสภาพครอบครัวของเด็ก กำหนดมาตรการบรรเทาทุกข์ชั่วคราว ส่งผู้กระทำเข้ากระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สอบสวน การแจ้งความดำเนินคดี ในเรื่องเด็กถูกล่วงละเมิดทางเพศ การดำเนินคดีกรณีสถานประกอบการจ้างเด็กอายุต่ำกว่า ๑๘ ปี ทำงาน ไกล่เกลี่ย ยอมความ ทำข้อตกลง
กระบวนงานในการแก้ไขปัญหา แยกเด็กออกจากครอบครัว แยกเด็กออกมาจากร้านคาราโอเกะ แจ้งสิทธิ รับเข้าพักชั่วคราวและบำบัดเยียวยาร่างกาย จิตใจ ส่งผู้ถูกกระทำพบทีมแพทย์เพื่อตรวจสภาพร่างกาย/จิตใจ ตรวจสอบสภาพร่างกาย เพื่อดูว่าติดเชื้อเอชไอวีหรือไม่ ให้เด็กได้รับความคุ้มครองและอยู่ในสถานที่เหมาะสม : ศูนย์เด็กเล็ก/สถานรับเลี้ยงเด็ก/Day Care Center นำแม่และเด็กเข้ารับการฟื้นฟูร่างกายจิตใจ จัดให้มีนักสังคมสงเคราะห์ นักจิตวิทยา ในการเยียวยาฟื้นฟูเด็ก (กายและจิตใจ) ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของแม่และหาอาชีพเสริม ให้เงินสงเคราะห์ มีกองทุนคุ้มครองเด็ก ฝึกอาชีพ พัฒนาอาชีพ หรือการศึกษาต่อ ส่งกลับบ้าน โดยการประเมินตามความต้องการของเด็ก
ก้าวต่อไปของการป้องกันและแก้ไขปัญหา ที่เกี่ยวข้องกับ ๓ พ.ร.บ. ส่งเสริมการทำงานของทีมสหวิชาชีพ แต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนแบบบูรณาการ พ.ร.บ. ๓ ฉบับ ระดับจังหวัด ระดับอำเภอ ระดับชุมชน ประชุมทีมจังหวัดเพื่อหารือร่วมกัน (ระหว่าง อปท. หน่วยงานภาครัฐ และเอกชน) และสร้างความรู้ความเข้าใจ ประชุมอย่างต่อเนื่อง และถอดบทเรียน จัดทำ MOU ระหว่างหน่วยงานสหวิชาชีพ จัดทำประกาศ/คำสั่ง/วาระของจังหวัด จัดทำเส้นทางความช่วยเหลือ ติดตามเยี่ยมชุมชน
ก้าวต่อไปของการป้องกันและแก้ไขปัญหา ที่เกี่ยวข้องกับ ๓ พ.ร.บ. เสริมสร้างศักยภาพหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จัดทำกระบวนงานและคู่มือ เพื่อเผยแพร่ไปสู่กลุ่มเป้าหมาย ผ่านการประชุม อบรม และอบรมเชิงปฏิบัติการ แสวงหาเครือข่าย อาสาสมัคร และส่งเสริมความรู้ความเข้าใจ สร้างความเข้มแข็งให้ระดับอำเภอ (อำเภอนำร่อง) โดยวิธีการ Focus Group / Case Study ถอดบทเรียน และนำเสนอโดยใช้กลุ่ม Best Practices อำเภอต้นแบบ เผยแพร่ความรู้/สร้างความเข้าใจเรื่อง พ.ร.บ. คุ้มครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖ ให้แก่ครูแนะแนว ครูที่ปรึกษา ในโรงเรียนนำร่องระดับมัยธมต้นและอำเภอนำร่อง และขยายไปสู่ทุกอำเภอ
ก้าวต่อไปของการป้องกันและแก้ไขปัญหา ที่เกี่ยวข้องกับ ๓ พ.ร.บ. จัดระบบช่วยเหลือ ฟื้นฟู ให้ศูนย์ OSCC ของโรงพยาบาลอำเภอเป็นจุดรับแจ้งและช่วยเหลือ ให้ศูนย์ไกล่เกลี่ยระดับอำเภอเป็นจุดประสานงาน สำนักงาน พมจ. และอำเภอ ประสานกับโรงเรียนและเขตการศึกษา ให้นำระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนมาใช้ในโรงเรียน เพิ่มบทบาทศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน (ศพค.) เป็นหน่วยเฝ้าระวังในชุมชน จัดกิจกรรมส่งเสริมการศึกษา อาชีพ, ศีลธรรมชุมชน, ยกย่องครอบครัวตัวอย่าง
ก้าวต่อไปของการป้องกันและแก้ไขปัญหา ที่เกี่ยวข้องกับ ๓ พ.ร.บ. จัดระบบสนับสนุน นำเข้าไปบูรณาการในแผนชุมชน จัดระบบการรายงาน ติดตาม ประเมินผล ประชาสัมพันธ์ให้เกิดกระแสสังคม รณรงค์การปฏิบัติ และการบังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้อง