แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผลการดำเนินงาน และผลงานเด่น/ นวัตกรรม SP สาขาโรคไต จังหวัดสกลนคร วันที่ ๙ – ๑๒ กันยายน ๒๕๕๖ ณ ห้องประชุมอุดรดุษฎี โรงแรมเจริญโฮเต็ล อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี รุ่งรักษ์ ภิรมย์ลาภ หน่วยไตเทียม โรงพยาบาลสกลนคร
ระยะของโรคไตเรื้อรัง ไตถูกทำลาย อัตราการกรองของไตปกติ หรือเพิ่มขึ้น 1 GFR > 90 ไตถูกทำลาย อัตราการกรองของไตลดลง เล็กน้อย 2 60-90 ไตถูกทำลาย อัตราการกรองของไตลดลงปานกลาง 3 30-60 ไตถูกทำลาย อัตราการกรองของไตลดลงมาก 4 15-30 ไตวายระยะสุดท้าย (ESRD) 5 < 15 www.themegallery.com 2
อุบัติการณ์โรคไตเรื้อรังในประเทศไทย CKD Prevalence in Thailand CCr-CG 7.3% GFR-MDRD 2.9% พ.ญ.อติพร กล่าวว่า ได้สำรวจเพื่อคัดกรองผู้ป่วยในกลุ่มตัวอย่าง 10 จังหวัดทั่วประเทศ อายุ 18 ปี ขึ้นไป จำนวน 2,833 คน ตั้งแต่เดือนส.ค. 2550- มิ.ย. 2551 ด้วยการตรวจร่างกาย ตรวจเลือดและปัสสาวะ ขณะนี้เก็บตัวอย่างได้ ร้อยละ 90 ขาดเพียงกลุ่มตัวอย่างจาก กทม. โดยพบผู้ป่วยโรคไต อยู่ในระยะ 1-5 ที่ต้องได้รับการรักษาร้อยละ 20 ในจำนวนนี้ ยังไม่เคยได้รับการรักษา ร้อยละ 88.4 เพราะไม่ทราบว่าตัวเองป่วยเป็นโรคไต ทั้งนี้ ในกลุ่มตัวอย่างร้อยละ 20 มีอาการในระยะท้ายคือ 3-5 ประมาณ ร้อยละ 7.5 เมื่อเทียบกับอัตราประชากรทั้งประเทศ คาดว่าจะมีผู้ป่วยโรคไตทุกระยะประมาณ 8.8 ล้านคน ถือว่ามีความชุกของโรคสูง ใกล้เคียงกับโรคเรื้อรังอื่น เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง สาเหตุที่ประชาชนไม่ทราบว่าตัวเองป่วย ส่วนใหญ่เกิดจากโรคไตนั้น จะไม่มีอาการบ่งบอก จนกว่าจะเข้าสู่ระยะสุดท้าย มีอาการบวม ตัวซีด หรืออาการหนักแล้ว .8% 1% .6% .7% .1% .1% .05% .06% Anutra et al. Prevalence of chronic kidney disease in Thai adult population. J Med Assoc Thai 2006; 89 suppl 2: s 112-20 3
โรคไตวายระยะสุดท้าย โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไตอักเสบเรื้อรัง โรคถุงน้ำในไต USRDS ADR, 2007 5
การพัฒนาระบบบริการโรคไต Service plan ของพวงที่ 8 ประเด็นปัญหา 1.การดูแลก่อนบำบัดทดแทนไต 1.1 การส่งต่อ 1.2 การจัดตั้ง CKD Clinic 2. การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม 2.1 การควบคุณคุณภาพหน่วย2.2 การทำศูนย์เอกชนในรพ.รัฐ 2.3vascular access 2.4 การขาดแคลนพยาบาล 2.5การรองรับ ผู้ป่วยหลังจากPD-drop out 3. การล้างไตทางช่องท้อง 3.1การจัดสรรบุคลากร 3.2การเยี่ยมบ้าน 3.3 waiting list(TK implantation) 4.มาตรฐานLab 5. การปลูกถ่ายไต 5.1 KT Center 5.2 KT donor
1.การดูแลก่อนบำบัดทดแทนไต 1.1 การส่งต่อ 1.2 การจัดตั้ง CKD Clinic
2. การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม 2. 1 การควบคุณคุณภาพหน่วย 2 2. การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม 2.1 การควบคุณคุณภาพหน่วย 2.2 การทำศูนย์เอกชนในรพ.รัฐ
3. การล้างไตทางช่องท้อง 3.1การจัดสรรบุคลากร อายุรแพทย์รับผิดชอบ OPD CAPD 2 คน ศัลยแพทย์รับผิดชอบวางสาย TK 1 คน - พยาบาล CAPD 4 คน พนักงานผู้ช่วยเหลือคนไข้ 2 คน พนักงานผู้ช่วย 1 คน คนงาน 1 คน 3.2การเยี่ยมบ้าน 3.3 waiting list(TK implantation)
ขบวนการดูแลผู้ป่วยCAPD/ตามมาตรฐาน ผู้ป่วย ESRD ฝึกสอนการทำ CAPD จำหน่ายกลับบ้าน F/Uเยี่ยมบ้าน เลือกCAPD F/U รพ.1 เดือน รับการผ่าตัดฝังสาย
กิจกรรมการดำเนินงานพัฒนาเครือข่าย การสร้างและพัฒนาแบ่งเป็น 2 ด้าน ดังนี้ 1. เครือข่ายภายในโรงพยาบาลสกลนคร 2. เครือข่ายภายนอกโรงพยาบาลสกลนคร 2.1 เครือข่ายบุคลากรสาธารณสุข 2.2 เครือข่ายภาคประชาชน
1.สร้างเครือข่ายภายในโรงพยาบาลสกลนคร 1.1 เตรียมความพร้อมและพัฒนาศักยภาพบุคลากร อบรมเตรียมความพร้อม 30 -31 มี.ค.52 อบรมทีมผ่าตัด อบรมทีม ER อบรมทีม MED ( ภาคปฏิบัติ ) 4รุ่น อบรมทีม MED ( เฉพาะHead ) อบรมทีม MED ตึกพิเศษ
2.สร้างเครือข่ายภายนอกโรงพยาบาลสกลนคร สร้างทีมเยี่ยมบ้านรพ.สน. - พยาบาล CAPD - เวชกรรมสังคม นักสังคมสงเคราะห์ เพื่อเป็นพี่เลี้ยงในการเยี่ยมบ้านของ รพช./PCU
3.สร้างเครือข่ายผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้อง ทำกลุ่มผู้ป่วยCAPD ทำกลุ่มผู้ป่วยCAPD ประชุมทีม รพ.สน. พยาบาล CAPD พยาบาลจิตเวช - พยาบาลเวชกรรมสังคม นักสังคมสงเคราะห์ สร้างเครือข่ายผู้ป่วยCAPD กิจกรรมเพื่อนเยี่ยมเพื่อน
4. มาตรฐานLab GFR ในผลตรวจเลือด 5. การปลูกถ่ายไต 5. 1 KT Center (รพศ 4.มาตรฐานLab GFR ในผลตรวจเลือด 5. การปลูกถ่ายไต 5.1 KT Center (รพศ.อุดร) 5.2 KT donor (รพศ.สกลนคร)
ภาพกิจกรรมประชาสัมพันธ์การรับบริจาคอวัยวะ
ขอบคุณค่ะ "พระธาตุเชิงชุมคู่บ้าน พระตำหนักภูพานคู่เมือง งามลือเลื่องหนองหาร แลตระการปราสาทผึ้ง สวยสุดซึ้งสาวภูไท ถิ่นมั่นในพุทธธรรม"