โครงการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประชุมแผนแม่บทพัฒนาลุ่มน้ำในเขตอำเภอแม่จัน 31 มีนาคม 2553 ณ ลานทองอุทยานวัฒนธรรมลุ่มน้ำโขง แผนพัฒนาลุ่มน้ำในเขตอำเภอแม่จัน.
Advertisements

งานนำเสนองานวิจัย. เรื่อง พฤติกรรมการใช้จ่าย. ของประชาชนในเขตชุมชน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
กรอบแนวคิดการพัฒนาทุนชุมชน
โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
นำเสนองาน my mapping เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์ จัดทำโดย
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
โครงการ “การวางแผนจัดการแบบมีส่วนร่วมเพื่อความมั่นคงด้านน้ำในพื้นที่ จังหวัดสมุทรสงครามโดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์บนเว็บ” สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
การใช้ทรัพยากรเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
วัตถุประสงค์การเชื่อมโยงเครือข่าย
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
จัดเวทีนำเสนอข้อมูล / ร่วมแสดงความเห็นร่วมกัน วัตถุประสงค์ / เป้าหมาย
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
ของฝากจากอาจารย์อ้อ ชุดที่ 30
รูปแบบแผนชุมชน.
บทบาทเจ้าหน้าที่ในการจัดเวทีประชาคมและเสริมสร้างครอบครัวพัฒนา
“ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ”
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
แนวคิดความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ โครงการ และงบประมาณ
การใช้ระบบภูมิสารสนเทศเพื่อการวางแผน พัฒนาพื้นที่ในเขตปฏิรูปที่ดิน
กลุ่มที่ 6 การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดที่ดิน
การพัฒนาองค์ความรู้ และการบูรณาการพัฒนา ขั้นพื้นฐาน.
ประเด็นที่ 1 ให้ทบทวนโยบายแนว ทางการดำเนินงานที่ ผ่านมา ของ ส. ป. ก. พร้อมทั้งวิเคราะห์ ปัญหาอุปสรรค และ แนวทางแก้ไข 1. กิจกรรมการจัดที่ดินและคุ้มครองพื้นที่
การจัดการที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย โดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น
ตัวอย่าง ตารางกรอบแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุ่มน้ำ แบบบูรณาการ
คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ
สรุปการประชุม เขต 10.
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
กลุ่มที่ 1.
กลุ่มที่ 3 การทำงานร่วมกันระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
SPATIAL PLANING : SGA-PEI รศ. ดร
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
ศูนย์เรียนรู้การเกษตรพอเพียง ปี 2550 กรมส่งเสริมการเกษตร
การจัดทำแผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบล
การดำเนินงาน และพัฒนายุวเกษตรกร
การจัดทำฐานข้อมูลการผลิตและการตลาดของสมาชิก
โดย นายแพทย์วุฒิไกร มุ่งหมาย นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี
กลุ่มที่ 6 วัดเขาทุเรียน ( วัดสีชมพู ) สุดยอดส้วม ระดับประเทศปี 2552 ประเภท ศาสนสถาน.
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS)
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
การจัดทำแผนชุมชน.
กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12. สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว.
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
กิจกรรมพัฒนาตลาดและเครือข่ายการผลิต
การพัฒนาองค์กรสตรี กรมการพัฒนาชุมชน ดําเนินการ พัฒนาสตรีมาพร้อม ๆ กับการก่อตั้งกรมฯ ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๐๕ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต สตรี พัฒนาครอบครัว พัฒนาอาชีพ.
ความจำเป็นของเครือข่ายภาคประชาชนระดับภูมิภาค มีมากน้อยเพียงใด จำเป็นเพราะต้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและ กันเพื่อได้ประโยชน์ด้วยกัน มีการสร้างเครือข่ายในแต่ละภูมิภาค.
แนวทางการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน กิจกรรมจัดการพื้นที่อนุรักษ์อย่างมีส่วนร่วม จัดทำฐานข้อมูลชุมชน อย่างมีส่วนร่วม (Village Profile)

กิจกรรม Village Profile ขั้นตอนการปฏิบัติ กิจกรรม Village Profile

1. เตรียมความพร้อมของชุมชน 1.1 คัดเลือกชุมชนเข้าดำเนินงาน คัดเลือกจากหมู่บ้านเป้าหมาย/หมู่บ้านในเขตรับผิดชอบของหน่วยฯ

1.2 ชี้แจงวัตถุประสงค์ของโครงการให้ชุมชนทราบ

2. จัดทำข้อมูลชุมชน 2.1 กำหนดรายละเอียดของข้อมูล ให้ครอบคลุม ใน ทุกๆด้าน เพื่อใช้ในการวางแผนการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ - ข้อมูลด้านสังคม - ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ - ข้อมูลด้านการศึกษา - ข้อมูลด้านการพัฒนาแหล่งน้ำ - ข้อมูลด้านสุขภาพและอนามัย - ข้อมูลด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

2.2 จัดทำข้อมูลโดยประสานข้อมูลจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำข้อมูลที่ได้ เป็นข้อมูลพื้นฐานในการจัดทำแผนชุมชน และจัดทำเป็นข้อมูลพื้นฐานของหมู่บ้านต่อไป

2.3 สำรวจข้อมูลพื้นฐาน แต่ละครัวเรือนในชุมชน โดยใช้แบบสำรวจ 2.4 ประเมินความต้องการของชุมชนเพื่อจัดทำแผนพัฒนาชุมชน ประเมินความต้องการของชุมชนจากแบบสำรวจที่ได้สำรวจและนำข้อมูลที่ได้ไปใช้ในการจัดทำแผนพัฒนาชุมชนต่อไป

2.5 สำรวจข้อมูลการใช้ประโยชน์ที่ดินของชุมชน สอบถามข้อมูลจากผู้ที่มีความรู้ของหมู่บ้าน ในเรื่องพื้นที่ต่างๆของหมู่บ้าน เช่น - ขอบเขตหมู่บ้าน - ขอบเขตพื้นที่ป่า - ขอบเขตพื้นที่ทำกิน - แหล่งน้ำ

3. จัดเวทีชาวบ้านเพื่อตรวจสอบ แก้ไข ปรับปรุง ข้อมูลต่างๆที่ได้ทำการสำรวจ เพื่อให้เกิดความถูกต้องและเป็นปัจจุบัน แล้วนำข้อมูลด้านพื้นที่ไปจัดทำแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดิน

4. สำรวจและจัดทำแผนที่สังเขปของหมู่บ้าน โดยใช้ระบบ GIS ทำการสำรวจ โดยใช้เครื่องมือ GPS จับพิกัดของบ้านแต่ละหลังคาเรือน และนำพิกัดที่ได้มาทำแผนที่ในระบบ GIS

5. นำข้อมูลการใช้ประโยชน์ที่ดินที่สำรวจ จัดทำให้เป็นระบบ GIS และภาพจำลอง ภูมิประเทศ เพื่อใช้เป็นสื่อในการเรียนรู้ร่วมกัน

6. จัดเวทีชาวบ้านเพื่อระดมความคิดเห็นในการเก็บรวบรวมข้อมูล ปัญหาของชุมชน ในทุกๆด้าน เพื่อนำไปกำหนดกรอบแนวทางแก้ไขปัญหา (เน้นด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และคุณภาพชีวิต

7. จัดเวทีประชาคมเพื่อคัดเลือก/จัดตั้งคณะกรรมการในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

8. จัดประชุมคณะกรรมการฯ เพื่อกำหนด กฎ กติกา ระเบียบ ของชุมชน กฎด้านสิ่งแวดล้อม กฎด้านปกครอง

9. จัดทำแผนเพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางในการพัฒนาชุมชน 1. แผน/กิจกรรม ชุมชนดำเนินการเองได้ เช่น การสร้างจิตสำนึกให้ชุมชนอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม , การจัดการขยะในครัวเรือนฯลฯ 2. แผน/กิจกรรม สนับสนุนจาก อบต. เช่น การพัฒนาด้านอาชีพ , โครงสร้างพื้นฐานของชุมชน 3. แผน/กิจกรรม สนับสนุนจากรัฐ เช่น แผนด้านการศึกษา , สุขภาพอนามัยฯลฯ

จัดทำแผนเพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางในการพัฒนาชุมชน

10. สร้างเครือข่ายเชื่อมโยงของคณะกรรมการชุมชนในพื้นที่กับนอกพื้นที่ชุมชน (โดยใช้เวทีชาวบ้านสัญจร) เพื่อแลกเปลี่ยน แสดงความคิดเห็น ปัญหาต่างๆในแต่ละชุมชน เพื่อนำมาปรับใช้ให้เหมาะสมกับชุมชนของตัวเอง

11. ประสานงานกิจกรรมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาชุมชนในด้านต่างๆ (ศึกษาดูงานนอกพื้นที่)

12. ติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมและตรวจสอบข้อมูลการเปลี่ยนแปลงของความเป็นอยู่ ของชุมชน และทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม